โครงการ รู้ รักษ์ สุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (รพสต.บานา)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ รู้ รักษ์ สุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (รพสต.บานา) ”
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายสมาน กอลำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา
เมษายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการ รู้ รักษ์ สุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (รพสต.บานา)
ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-3013-01-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 เมษายน 2563 ถึง 10 เมษายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ รู้ รักษ์ สุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (รพสต.บานา) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ รู้ รักษ์ สุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (รพสต.บานา)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ รู้ รักษ์ สุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (รพสต.บานา) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-3013-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 เมษายน 2563 - 10 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,750.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากทุกภาคส่วนประชาชนมีศักยภาพในการจัดการปัจจัยเสี่ยงและสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อโรควิถีชีวิตเพื่อปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่ที่ลดเสี่ยงลดโรคลดภาวะแทรกซ้อน ลดการพิการ ลดความตาย และลดภาระค่าใช้จ่ายทั้งระดับบุคคล ครอบครัวชุมชนสังคมสังคมสุขภาวะบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน(DM)และโรคความดันโลหิตสูง (HT) เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD)โรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวมแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยพ.ศ2554-2563 ซึ่งเป็นแผนระดับชาติเพื่อใช้เป็นกรอบชี้ทิศทางการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติการอย่างบูรณาการเป็นเอกภาพด้วยการรวมพลังขับเคลื่อนตำบลบานา ได้ดำเนินตามนโยบายสาธารณสุขผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตตำบลบานา มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทั้งหมดปี2562 จำนวน2,498 ราย โรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด 1,588 รายสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีจำนวน 425 รายคิดเป็นร้อยละ26.76โรคเบาหวาน900 รายสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี จำนวน 135 ราย คิดเป็นร้อยละ15 ป่วยทั้งโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 1903 ราย และผู้ป่วยที่มีระดับความเสื่อมของไต ค่า GFR อยู่ในระดับ 3 จำนวน 57 ราย คิดเป็นร้อยละ51.35 ระดับ 4 จำนวน 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.02 และระดับ5 จำนวน 14 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.61 เข้ารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา จำนวน863ราย ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ มักจะมีอาการหลงลืมในการรับประทานยาบ้างการคุมอาหารบ้าง ขาดการเอาใจใส่จากญาติ ขาดความรู้ความเข้าใจในการรักษาที่ถูกต้อง ไปพึ่งยาเสริมต่างๆที่สามารถหาซื้อได้ง่ายด้วยตนเองโดยไม่ได้รับคำแนะนำจากบุคคลากรทางการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้มีการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในพื้นที่รับผิดชอบของเป็นแบบองค์รวม และเกิดการบูรณาการให้ผู้ป่วยและญาติดูแลตนเองได้ สามารถควบคุมภาวะอาการของโรคได้ และลดการตายจากภาวะแทรกซ้อน
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา เล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง สามารถดูแลตนเองได้ ลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้ กระตุ้นให้คนในบ้านหรือผู้ดูแล มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมดูแลรักษา ให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ดูแล รับรู้ถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น และมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสุขภาพคนในบ้าน เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน และเป็นบุคคลที่มีสุขภาพดีและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง เกี่ยวกับโรค
- เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเรื้อรังสามารถดูแลติดตามผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่องและประเมินภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้
- เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความรู้ความเข้าใจ ด้านยา ( ยาแผนปัจจุบัน / สมุนไพร ) เพื่อนำไปปรับให้ถูกต้องและเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่1รู้เร็วรู้ไว น้ำตาลคุมได้ ใส่ใจสุขภาพ
- กิจกรรมที่ 2พิชิตความดันโลหิตด้วยตัวเรา
- กิจกรรมที่ 3 รู้รักษ์ไต
- กิจกรรมที่ 4 อสมอาสา พาประชาชนห่างไกลโรคแทรกซ้อน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
64
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
44
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
37
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1ผู้ป่วย/ผู้ดูแล และอาสาสมัครสาธรณสุขมีความรู้ –ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค ,การรักษา ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดกับผู้ป่วยได้
2กลุ่มเป้าหมายที่ป่วยสามารถควบคุมความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีขึ้น
3กลุ่มเป้าหมายที่มีระดับGFR ในระดับ3 สามารถมีระดับGFR ที่เพิ่มขึ้น
4ชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจผ่านสื่อไวนิลเกี่ยวกับโรคเรื้อรังและนำไปปฏิบัติได้ถูกต้องชุมชน
5ผู้ป่วย ผู้ดูแลและ อาสาสมัครสาธารณสุขแปรผลจากสมุดประจำตัวได้และ ร่วมกันดูแลซึ่งกันและกัน เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่1รู้เร็วรู้ไว น้ำตาลคุมได้ ใส่ใจสุขภาพ
วันที่ 7 เมษายน 2563กิจกรรมที่ทำ
บรรลุตามวัตถุประสงค์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
บรรลุตามวัตถุประสงค์
64
0
2. กิจกรรมที่ 2พิชิตความดันโลหิตด้วยตัวเรา
วันที่ 8 เมษายน 2563กิจกรรมที่ทำ
บรรลุตามวัตถุประสงค์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
บรรลุตามวัตถุประสงค์
60
0
3. กิจกรรมที่ 4 อสมอาสา พาประชาชนห่างไกลโรคแทรกซ้อน
วันที่ 10 เมษายน 2563กิจกรรมที่ทำ
บรรลุตามวัตถุประสงค์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
บรรลุตามวัตถุประสงค์
37
0
4. กิจกรรมที่ 3 รู้รักษ์ไต
วันที่ 9 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำ
บรรลุตามวัตถุประสงค์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
บรรลุตามวัตถุประสงค์
44
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง เกี่ยวกับโรค
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน และโรค ไตและภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้
2.ร้อยละ60 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด ได้ และ ป้องกันไม่ให้มีค่าความเสื่อมของไตเพิ่มขึ้น
3.ร้อยละ95 ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดมีความรู้ความเข้าใจด้านยาที่ถูกต้อง
239.00
2
เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ผู้ดูแลและอสมที่เข้ารับการอบรม สามารถประเมินภาวะเสี่ยง และติดตามผู้ป่วยได้
90.00
3
เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเรื้อรังสามารถดูแลติดตามผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่องและประเมินภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของอสมที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน และโรค ไตและภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้
2.ร้อยละ 90 ของอสม ที่เข้ารับการอบรมสามารถประเมินภาวะเสี่ยงและติดตามผู้ป่วยได้
180.00
4
เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความรู้ความเข้าใจ ด้านยา ( ยาแผนปัจจุบัน / สมุนไพร ) เพื่อนำไปปรับให้ถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ95 ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดมีความรู้ความเข้าใจด้านยาที่ถูกต้อง
95.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
205
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
64
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
44
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
37
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง เกี่ยวกับโรค (2) เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย (3) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเรื้อรังสามารถดูแลติดตามผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่องและประเมินภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ (4) เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความรู้ความเข้าใจ ด้านยา ( ยาแผนปัจจุบัน / สมุนไพร ) เพื่อนำไปปรับให้ถูกต้องและเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1รู้เร็วรู้ไว น้ำตาลคุมได้ ใส่ใจสุขภาพ (2) กิจกรรมที่ 2พิชิตความดันโลหิตด้วยตัวเรา (3) กิจกรรมที่ 3 รู้รักษ์ไต (4) กิจกรรมที่ 4 อสมอาสา พาประชาชนห่างไกลโรคแทรกซ้อน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ รู้ รักษ์ สุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (รพสต.บานา) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-3013-01-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมาน กอลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ รู้ รักษ์ สุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (รพสต.บานา) ”
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายสมาน กอลำ
เมษายน 2563
ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-3013-01-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 เมษายน 2563 ถึง 10 เมษายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ รู้ รักษ์ สุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (รพสต.บานา) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ รู้ รักษ์ สุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (รพสต.บานา)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ รู้ รักษ์ สุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (รพสต.บานา) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-3013-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 เมษายน 2563 - 10 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,750.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากทุกภาคส่วนประชาชนมีศักยภาพในการจัดการปัจจัยเสี่ยงและสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อโรควิถีชีวิตเพื่อปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่ที่ลดเสี่ยงลดโรคลดภาวะแทรกซ้อน ลดการพิการ ลดความตาย และลดภาระค่าใช้จ่ายทั้งระดับบุคคล ครอบครัวชุมชนสังคมสังคมสุขภาวะบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน(DM)และโรคความดันโลหิตสูง (HT) เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD)โรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวมแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยพ.ศ2554-2563 ซึ่งเป็นแผนระดับชาติเพื่อใช้เป็นกรอบชี้ทิศทางการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติการอย่างบูรณาการเป็นเอกภาพด้วยการรวมพลังขับเคลื่อนตำบลบานา ได้ดำเนินตามนโยบายสาธารณสุขผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตตำบลบานา มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทั้งหมดปี2562 จำนวน2,498 ราย โรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด 1,588 รายสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีจำนวน 425 รายคิดเป็นร้อยละ26.76โรคเบาหวาน900 รายสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี จำนวน 135 ราย คิดเป็นร้อยละ15 ป่วยทั้งโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 1903 ราย และผู้ป่วยที่มีระดับความเสื่อมของไต ค่า GFR อยู่ในระดับ 3 จำนวน 57 ราย คิดเป็นร้อยละ51.35 ระดับ 4 จำนวน 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.02 และระดับ5 จำนวน 14 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.61 เข้ารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา จำนวน863ราย ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ มักจะมีอาการหลงลืมในการรับประทานยาบ้างการคุมอาหารบ้าง ขาดการเอาใจใส่จากญาติ ขาดความรู้ความเข้าใจในการรักษาที่ถูกต้อง ไปพึ่งยาเสริมต่างๆที่สามารถหาซื้อได้ง่ายด้วยตนเองโดยไม่ได้รับคำแนะนำจากบุคคลากรทางการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้มีการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในพื้นที่รับผิดชอบของเป็นแบบองค์รวม และเกิดการบูรณาการให้ผู้ป่วยและญาติดูแลตนเองได้ สามารถควบคุมภาวะอาการของโรคได้ และลดการตายจากภาวะแทรกซ้อน
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา เล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง สามารถดูแลตนเองได้ ลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้ กระตุ้นให้คนในบ้านหรือผู้ดูแล มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมดูแลรักษา ให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ดูแล รับรู้ถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น และมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสุขภาพคนในบ้าน เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน และเป็นบุคคลที่มีสุขภาพดีและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง เกี่ยวกับโรค
- เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเรื้อรังสามารถดูแลติดตามผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่องและประเมินภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้
- เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความรู้ความเข้าใจ ด้านยา ( ยาแผนปัจจุบัน / สมุนไพร ) เพื่อนำไปปรับให้ถูกต้องและเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่1รู้เร็วรู้ไว น้ำตาลคุมได้ ใส่ใจสุขภาพ
- กิจกรรมที่ 2พิชิตความดันโลหิตด้วยตัวเรา
- กิจกรรมที่ 3 รู้รักษ์ไต
- กิจกรรมที่ 4 อสมอาสา พาประชาชนห่างไกลโรคแทรกซ้อน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 64 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 60 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 44 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 37 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1ผู้ป่วย/ผู้ดูแล และอาสาสมัครสาธรณสุขมีความรู้ –ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค ,การรักษา ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดกับผู้ป่วยได้
2กลุ่มเป้าหมายที่ป่วยสามารถควบคุมความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีขึ้น
3กลุ่มเป้าหมายที่มีระดับGFR ในระดับ3 สามารถมีระดับGFR ที่เพิ่มขึ้น
4ชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจผ่านสื่อไวนิลเกี่ยวกับโรคเรื้อรังและนำไปปฏิบัติได้ถูกต้องชุมชน
5ผู้ป่วย ผู้ดูแลและ อาสาสมัครสาธารณสุขแปรผลจากสมุดประจำตัวได้และ ร่วมกันดูแลซึ่งกันและกัน เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่1รู้เร็วรู้ไว น้ำตาลคุมได้ ใส่ใจสุขภาพ |
||
วันที่ 7 เมษายน 2563กิจกรรมที่ทำบรรลุตามวัตถุประสงค์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นบรรลุตามวัตถุประสงค์
|
64 | 0 |
2. กิจกรรมที่ 2พิชิตความดันโลหิตด้วยตัวเรา |
||
วันที่ 8 เมษายน 2563กิจกรรมที่ทำบรรลุตามวัตถุประสงค์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นบรรลุตามวัตถุประสงค์
|
60 | 0 |
3. กิจกรรมที่ 4 อสมอาสา พาประชาชนห่างไกลโรคแทรกซ้อน |
||
วันที่ 10 เมษายน 2563กิจกรรมที่ทำบรรลุตามวัตถุประสงค์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นบรรลุตามวัตถุประสงค์
|
37 | 0 |
4. กิจกรรมที่ 3 รู้รักษ์ไต |
||
วันที่ 9 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำบรรลุตามวัตถุประสงค์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นบรรลุตามวัตถุประสงค์
|
44 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง เกี่ยวกับโรค ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน และโรค ไตและภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 2.ร้อยละ60 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด ได้ และ ป้องกันไม่ให้มีค่าความเสื่อมของไตเพิ่มขึ้น 3.ร้อยละ95 ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดมีความรู้ความเข้าใจด้านยาที่ถูกต้อง |
239.00 |
|
||
2 | เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ผู้ดูแลและอสมที่เข้ารับการอบรม สามารถประเมินภาวะเสี่ยง และติดตามผู้ป่วยได้ |
90.00 |
|
||
3 | เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเรื้อรังสามารถดูแลติดตามผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่องและประเมินภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของอสมที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน และโรค ไตและภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 2.ร้อยละ 90 ของอสม ที่เข้ารับการอบรมสามารถประเมินภาวะเสี่ยงและติดตามผู้ป่วยได้ |
180.00 |
|
||
4 | เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความรู้ความเข้าใจ ด้านยา ( ยาแผนปัจจุบัน / สมุนไพร ) เพื่อนำไปปรับให้ถูกต้องและเหมาะสม ตัวชี้วัด : ร้อยละ95 ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดมีความรู้ความเข้าใจด้านยาที่ถูกต้อง |
95.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 205 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 64 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 60 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 44 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 37 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง เกี่ยวกับโรค (2) เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย (3) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเรื้อรังสามารถดูแลติดตามผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่องและประเมินภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ (4) เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความรู้ความเข้าใจ ด้านยา ( ยาแผนปัจจุบัน / สมุนไพร ) เพื่อนำไปปรับให้ถูกต้องและเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1รู้เร็วรู้ไว น้ำตาลคุมได้ ใส่ใจสุขภาพ (2) กิจกรรมที่ 2พิชิตความดันโลหิตด้วยตัวเรา (3) กิจกรรมที่ 3 รู้รักษ์ไต (4) กิจกรรมที่ 4 อสมอาสา พาประชาชนห่างไกลโรคแทรกซ้อน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ รู้ รักษ์ สุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (รพสต.บานา) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-3013-01-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมาน กอลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......