กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง


“ โครงการก่อแก่น แกน RDU เทศบาลตำบลยะหริ่ง ”

อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
ภญ.มูนาดา แวนาแว

ชื่อโครงการ โครงการก่อแก่น แกน RDU เทศบาลตำบลยะหริ่ง

ที่อยู่ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L8284-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มีนาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการก่อแก่น แกน RDU เทศบาลตำบลยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการก่อแก่น แกน RDU เทศบาลตำบลยะหริ่ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการก่อแก่น แกน RDU เทศบาลตำบลยะหริ่ง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L8284-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คปสอ.ยะหริ่ง เริ่มมีการดำเนินงานส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชน(RDU in community) ตั้งแต่ ปี 2560 โดยมีตำบลตาแกะ เป็นตำบลนำร่อง สิ่งที่ได้เรียนรู้ในระยะแรก คือ การปรับระบบงาน คบส.ในภาพรวมให้เป็นรูปธรรม และเชื่อมต่อ RDU ในปี 2561 เริ่มจากการสร้างทีมผู้รับผิดชอบงาน คบส.ใน รพ.สต.และ อสม.ในชื่อ “คอ บอ สอ สามัคคี” พัฒนาศักยภาพทีมให้มีความรู้แนวทางการดำเนินงาน คบส. แต่ยังพบข้อจำกัดด้านความเข้าใจในระบบงาน เนื่องจากเป็นเจ้าหน้าที่ใหม่ทั้งทีม ขาดประสบการณ์การทำงาน รวมถึงการเชื่อมโยงกับเครือข่ายในชุมชน ซึ่งต้องอาศัยระยะเวลาในการพัฒนางานต่อ กลยุทธ์หนึ่งที่ใช้ในการดำเนินงาน คือ การใช้ตำบลต้นแบบ RDU เป็นฐานเรียนรู้งาน คบส. ในคปสอ.ยะหริ่ง จึงได้ขยายตำบล RDU เป็นตำบลบางปู และยามูในปี 2562
    กิจกรรมหลักที่ใช้ในการพัฒนาเครือข่ายงาน คบส.เชื่อมต่อ RDU คือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในเครือข่ายทั้ง 19 ตำบล อย่างน้อยปีละ 1 คืนข้อมูลสิ่งที่พบในงาน คบส.และสิ่งที่ได้เรียนรู้ในตำบลต้นแบบ RDU เพื่อกระตุ้นให้เกิดการขยายการพัฒนางาน และสร้างความเข้มแข็งแก่เครือข่าย ผลการดำเนินงาน คบส. คปสอ.ยะหริ่ง ตั้งแต่ ปีงบประมาณ 2561-62 พบปัญหา ได้แก่ 1. ผู้บริโภคขาดองค์ความรู้ในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ จากการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2562 ในตำบลตาแกะ , บางปู และยามูพบผู้ป่วยมีประวัติใช้ยาชุดร้อยละ 41.79 (28/67) ใช้อาหารเสริมที่โฆษณาเกินจริง ร้อยละ 34.32(23/67) 2. ขาดระบบการเฝ้าระวังแบบเชิงรุกที่เป็นรูปธรรม จากผลการเก็บตัวอย่าง ต.ค.-ธ.ค. 62 พบว่า ร้อยละ 68.42 (13/19) ของ รพ.สต.มีการเก็บตัวอย่างยาไม่เหมาะสมส่งตรวจ Steroids Test kits พบร้อยละ 41.79 (28/67) 3. ปี 2562 พบผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบจากการใช้ยาไม่เหมาะสมในชุมชน ได้แก่ Cushing syndrome 2 ราย , Fixed drug eruption 2 ราย , GI bleed 1 ราย , สงสัย TEN (ปฏิเสธการรักษาในโรงพยาบาล) 1 ราย 4. ขาดความร่วมมือของเครือข่ายชุมชนในการจัดการปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่เหมาะสมอย่างเป็ระบบ จากปัญหาดังกล่าว ระบบที่ควรพัฒนาเป็นลำดับแรก คือ การสร้างระบบการเฝ้าระวังเชิงรุก โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในชุมชน เพื่อให้มีข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ปัญหาด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ เน้นยาไม่ปลอดภัยในชุมชน และเกิดการประสานความร่วมมือของเครือข่ายในการร่วมจัดหาปัญหาอีกด้วย ด้วยเหตุนี้ จึงจำเป็นต้องพัฒนาต่อโดยอาศัยเครือข่ายตำบลต้นแบบ RDU เป็นแกนนำในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน คบส.ใน คปสอ. ซึ่งในปี 2563 จะขยายเครือข่าย RDU เป็นตำบลตะโละกาโปร์ เนื่องด้วยเป็นตำบลที่เจ้าหน้าที่ รพ.สต.และเครือข่ายมีความพร้อมในการดำเนินงาน และสามารถเป็นต้นแบบภายในโซนได้ การขยายตำบลต้นแบบ RDU จึงเป็นหนึ่งในกลไกในการพัฒนาชุมชนให้เกิดมิติต่างๆของเครือข่าย  ด้วยมุ่งหวังให้เครือข่าย RDU มีศักยภาพในการเฝ้าระวังยาไม่ปลอดภัยในชุมชน มีรูปแบบจัดการปัญหาโดยวิธีการของชุมชน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดการพึ่งพา ช่วยเหลือกันภายในเครือข่าย นำไปสู่เป้าหมายร่วมสูงสุด คือ ความปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพิ่อสร้างแกนนำเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อต่อการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
  2. 2.เพื่อพัฒนาร้านชำในชุมชน ให้มีคุณภาพ ปลอดยาอันตาราย โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
  3. 3.เพื่อเสริมพลังให้แกนนำเครือข่ายสามารถส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผลแก่ภาคประชาชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศักยภาพแกนนำRDU เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานRDUในชุมชน
  2. กิจกรรมกที่ 2 พัฒนาร้านชำในชุมชนให้เป็น "ร้านชำคุณภาพ" โดยเครือข่ายชุมชน
  3. กิจกรรมที่ 3 คืนข้อมูลผลการดำเนินงานเพื่อหาโอกาสพัฒนาและสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีแกนนำ RDU ที่สามารถขับเคลื่อน บอกต่อ แก่คนในชุมชนได้ 2.ชุมชนตื่นรู้เกี่ยวกับRDU 3.ร้านค้าใรชุมชนมีคุณภาพ ปลอดจากยาอันตาราย โดยกลไกเฝ้าระวังของชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศักยภาพแกนนำRDU เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานRDUในชุมชน

วันที่ 25 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.1 คัดเลือกแกนนำเครือข่าย RDU ในชุมชน ซึ่งประกอบด้วย แกนนำ 4 เสาหลัก , ผู้นำศาสนา , ผู้นำท้องที่ , โรงเรียนในพื้นที่ , อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน เป็นต้น 1.2. จัดทำคำสั่งคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เทศบาลตำบลยะหริ่ง เพื่อร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงาน RDU ในชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม 1.3 ประชุมทำความเข้าใจ คืนข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ คปสอ.ยะหริ่ง แก่คณะกรรมการ ในวันที่ 3 ก.ย. ุ63 เพื่อวางแผนทิศทางการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในเขตเทศบาลตำบลยะหริ่ง 1.4 จัดทำหลักสูตร “ก่อแก่น แกน RDU” เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำ RDU เชื่อมโยงกับงานคุ้มครองผู้บริโภค ให้สามารถดำเนินการในชุมชนได้ 1.5 จัดอบรมให้ความรู้ตามหลักสูตร “ก่อแก่น แกน RDU” เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาสมเหตุผล แก่แกนนำชุมชนรวมถึงคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคฯ เทศบาลตำบลยะหริ่ง 1.6 สุ่มเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง สำรวจพฤติกรรมการใช้ยา ยาเหลือใช้ ค้นหาผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัยในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เทศบาลตำบลยะหริ่ง จำนวน 15 คน ตามคำสั่งเทศบาลตำบลยะหริ่ง เลขที่ 446/2563  ซึ่งประกอบด้วยแกนนำจากภาคีเครือข่าย ได้แก่ กำนัน , ผู้ใหญ่บ้าน, ผู้นำศาสนา , ปลัดเทศบาล เป็นต้น ที่สามารถขับเคลื่อนงานคุ้มครองผู้บริโภค(คบส.)ให้เป็นรูปธรรม เพื่อคุ้มครองให้ผู้บริโภคปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้
  2. ร้อยละ 60 ของแกนนำ คบส. รวมถึงคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคเทศบาลตำบลยะหริ่ง  ที่เข้าร่วมอบรมตามหลักสูตร “ก่อ แก่นแกน RDU” มีคะแนนจากการทำ Post -Test มากกว่า Pre -Test  โดยมีคะแนนเฉลี่ยของ Pre -Test และ Post -Test  ร้อยละ 62.36 และ 72.42 ของคะแนนทั้งหมด 3.    จากการเยี่ยมบ้านสำรวจยาในครัวเรือนและพฤติกรรมการใช้ยาของผู้ป่วยโรคเรื้อรังในตำบลยามู จำนวน 52 ราย แบ่งเป็น ม.1 22 ราย , ม.2 24 ราย , ม.3 6 ราย มีโรคประจำตัวเป็นความดันโลหิตสูง สูงสุด จำนวน 44 ราย รองลงมา เป็นโรคเบาหวาน จำนวน 26 ราย และโรคไขมันในเลือดสูง จำนวน 25 ราย จากการสัมภาษณ์ผู้ป่วยทั้งหมด พบข้อมูลดังนี้   3.1 ร้อยละ 69 ของผู้ป่วย ไม่รู้จักสเตียรอยด์ แต่มีประวัติใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพหรือผลิตภัณฑ์สมุนไพรเสี่ยง สเตียรอยด์ ร้อยละ 11.54 (6/52) โดยมีการสั่งซื้อผ่านเวปไซด์ 2 ราย , สั่งซื้อผ่านโฆษณาทีวี 1 ราย , มีรถ/ตัวแทนมาขาย 1 ราย , มีคนให้มา 1 ราย , ไม่สามารถระบุแหล่งที่มา 1 ราย
      3.2 ร้อยละ 23.07 มีพฤติกรรมกินยาสมุนไพรหรือยาแผนโบราณร่วมกับยาแผนปัจจุบัน แต่ไม่มีผู้ป่วยที่กินยาลูกกลอน ยาต้ม ยาหม้อ แทนยาปัจจุบัน ร้อยละ 15.38 กินอาหารเสริมร่วมกับยาแผนปัจจุบัน เพื่อรักษาโรค   3.3 พบยาสมุนไพรอันตราย แก้ปวดเมื่อย ไม่มีฉลาก จำนวน 7 ตัวอย่าง ได้แก่ ยาแคปซูลขาวเหลือง แก้ปวดเมื่อย จาก อ.จะแนะ 1 ตัวอย่าง , ยาลูกกลอน แก้ปวดเมื่อย ซื้อจากในตำบล 1 ตัวอย่าง , ยาผงสีส้มแก้ปวดเมื่อย ซื้อจากต่างตำบล 1 ตัวอย่าง  และยาผงใส่ในแคปซูลแก้ปวดท้อง ซื้อจากอำเภอ 2 ตัวอย่าง โดยได้นำมาตรวจด้วยชุดทดสอบสเตียรอยด์อย่างง่าย (Test kits) พบมี 1 ตัวอย่างที่ตรวจพบสเตียรอยด์ คือ ยาผงสีส้มแก้ปวดเมื่อย

 

30 0

2. กิจกรรมกที่ 2 พัฒนาร้านชำในชุมชนให้เป็น "ร้านชำคุณภาพ" โดยเครือข่ายชุมชน

วันที่ 28 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

2.1 ประชุมหารือสถานการณ์ปัญหาการขายยาอันตรายในร้านชำ และวิเคราะห์ปัญหาร่วมกับเครือข่าย
2.2 ประชุมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำเกี่ยวกับการเลือกซื้อ เลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพให้ปลอดภัย เชื่อมโยงกับหลักการทางศาสนา
2.3 ประชุมวางแผนการตรวจเฝ้าระวังร้านชำในชุมชน เพื่อความเข้าใจทั้งภาครัฐและผู้ประกอบการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผลการประชุมปัญหาสถานการณ์ปัญหาการขายยาอันตรายในร้านชำ พบว่า มี 17 ร้าน เข้าร่วมจากร้านชำทั้งหมด 59 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 28.81 โดยได้มีคืนข้อมูลปัญหาผลกระทบจากการใช้ยาจากร้านชำ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขายยาอันตรายในร้านชำ รวมถึงมุมมองของศาสนาอิสลามที่เกี่ยวข้อง และได้มีการประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาสมเหตุผล จำนวน 25 คน โดยในแบบสอบถามแบ่งเป็น 6 ตอน ได้แก่
ตอนที่ 1 : ข้อมูลทั่วไป
ตอนที่ 2 : การใช้ยาตามฉลากและซองยา (6 ข้อ)
ตอนที่ 3 : การรู้ทันสื่อโฆษณา (7 ข้อ)
ตอนที่ 4 : การเลือกซื้อและใช้ยา (5 ข้อ)
ตอนที่ 5 : การเข้าใจความหมายของคำศัพท์ (10 ข้อ)
ตอนที่ 6 : การเข้าถึงข้อมูล ( 2 ข้อ) จำนวนทั้งหมด 30 ข้อ พบว่า ร้อยละของผู้เข้าร่วมที่ได้คะแนนรวมในแต่ละตอนมากที่สุด ได้แก่ ตอนที่ 1 ร้อยละ 4 (1/25) คะแนนสูงสุด 6 คะแนน , ตอนที่ 2 ร้อยละ 24 (6/25) คะแนนสูงสุด 5 คะแนน , ตอนที่ 4-6 ร้อยละ 8 (2/25) คะแนนสูงสุด 10 คะแนน จะเห็นได้ว่า ความรอบรู้ด้านการใช้ยาสมเหตุผลของผู้เข้าร่วมยังน้อยกว่าร้อยละ 50 ของแบบทดสอบ 2. มุมมองอิสลามที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของร้านชำที่มีต่อผู้บริโภค ได้แก่
“นบีกล่าวว่าพ่อค้าที่สัจจริงและซื่อสัตย์ จะพำนักพร้อมกับนบี ชาวศิดดีก และชาวชะฮีดในสวรรค์” “อย่าสร้างความเดือนร้อน ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น”

 

50 0

3. กิจกรรมที่ 3 คืนข้อมูลผลการดำเนินงานเพื่อหาโอกาสพัฒนาและสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน

วันที่ 8 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมแนวทางการให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชน เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อม RDU ในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ประกอบการร้านชำเสนอให้มีป้ายแสดงความรู้เกี่ยวกับยาที่ขายได้และไม่ได้ในร้านชำ เพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงกฎหมายและขอบเขตของการขายยา ซึ่งจะมอบให้ร้านชำที่มีขนาดใหญ่ก่อนจำนวน 15 ร้าน
  2. แกนนำชุมชน เสนอให้มีจัดทำสื่อวิดิทัศน์ตามบริบทยามู เพื่อกระจายต่อไปยังสังคมออนไลน์ได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพิ่อสร้างแกนนำเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อต่อการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
ตัวชี้วัด : แกนนำมีความรู้ในการใช้ยาในพื้นที่
1.00 30.00

 

2 2.เพื่อพัฒนาร้านชำในชุมชน ให้มีคุณภาพ ปลอดยาอันตาราย โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้านค้าในชุมชนมีการขายยาตามประเภทยาที่กฎหมายกำหนด
1.00 50.00

 

3 3.เพื่อเสริมพลังให้แกนนำเครือข่ายสามารถส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผลแก่ภาคประชาชนได้
ตัวชี้วัด : แกนนำสามารถเป็นเครือข่ายในการขับเคลื่อนการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
1.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพิ่อสร้างแกนนำเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อต่อการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (2) 2.เพื่อพัฒนาร้านชำในชุมชน ให้มีคุณภาพ ปลอดยาอันตาราย โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (3) 3.เพื่อเสริมพลังให้แกนนำเครือข่ายสามารถส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผลแก่ภาคประชาชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศักยภาพแกนนำRDU เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานRDUในชุมชน (2) กิจกรรมกที่ 2 พัฒนาร้านชำในชุมชนให้เป็น "ร้านชำคุณภาพ" โดยเครือข่ายชุมชน (3) กิจกรรมที่ 3 คืนข้อมูลผลการดำเนินงานเพื่อหาโอกาสพัฒนาและสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการก่อแก่น แกน RDU เทศบาลตำบลยะหริ่ง

รหัสโครงการ 63-L8284-1-03 ระยะเวลาโครงการ 10 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ชุมชน/แกนนำชุมชนยังขาดองค์ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค รวมถึงปัญหา ผลกระทบจากการใช้ยาที่ไม่สมเหตุผล หลังจากที่มีการสร้างเครือข่าย RDU/คณะกรรมการ คบส. เทศบาลตำบลยะหริ่ง ทำให้ คกก.มีองค์ความรู้สำหรับการดูแลตนเอง และเฝ้าระวังชุมชนได้

 

1.ดึงแกนนำชุมชนเข้าสู่กลุ่ม line "คอ บอ สอ สามัคคี" ซึ่งเป็นชุมชนนักปฏิบัติด้านการคุ้มครองผู้บริโภค คปสอ.ยะหริ่ง 2. ให้ความรู้แก่แกนนำอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขเทศบาลยะหริ่ง ทำให้การดำเนินงานชัดเจนและเป็นรูปธรรมมากขึ้น

คำสั่งเทศบาลตำบลยะหริ่ง เลขที่ 446/2563

ประชุมคณะกรรมการฯ อย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

การทำงาน คบส. เป็นทีม โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่าย

 

เครือข่ายประชุม วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

มี คกก.คบส. ร่วมวางแผน แก้ไขปัญหาความเสี่ยง จากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนได้

 

ประชุมคณะกรรมการฯ อย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

แกนนำและครอบครัวผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง

 

ให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

เดิมผู้ป่วยเข้าใจว่าการใช้สมุนไพรปลอดภัยกว่ายาใน รพ. หลังจากการเยี่ยมบ้านให้ความรู้ ผุ้ป่วความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกใช้สมุนไพรที่เหมาะกับโรคและข้อมูลที่ต้องรู้ก่อนการเลือกใช้

 

1.จัดประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรให้ปลอดภัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการก่อแก่น แกน RDU เทศบาลตำบลยะหริ่ง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L8284-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ภญ.มูนาดา แวนาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด