กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2560

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสมรัตน์ขำมาก

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5238-1-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5238-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรม และการมีพฤติกรรมสุขภาพเสี่ยงโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง เช่นการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย ความเครียดการดื่มสุรา สูบบุหรี่และหากผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาอย่างจริงจังเหมาะสมแล้ว อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญทางตา ไต เท้า โรคหลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง ซึ่งปัจจุบันเป็นปัญหาที่สำคัญด้านสาธารณสุขของโลก และของประเทศไทย จากข้อมูลการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า ปี 2558 พบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน จำนวน 210 คน .และ17 คน คิดเป็นร้อยละ 24.25 และ1.96 พบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน212 คน และ 21 คน คิดเป็นร้อยละ27.64 และ 2.74 ตามลำดับ และในปี 2559 พบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานจำนวน 185 คน .และ19 คน คิดเป็นร้อยละ 21.07 และ 2.19 พบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน232 คน และ 22 คน คิดเป็นร้อยละ 29.68และ 2.83 ตามลำดับ และในปี 2558 – 2559 มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 130คน และ 138 คน โรคเบาหวานจำนวน 32 คน และ 33 คน โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน 31 และ 34 คน ตามลำดับ ซึ่งจากผลการคัดกรองพบว่ากลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูง รวมทั้งผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคดังกล่าว ทั้งในรูปแบบการให้ความรู้รายบุคคล การอบรมเป็นรายกลุ่ม รวมทั้งการพัฒนาหมู่บ้านให้เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคฯ โดยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย จึงมีความสำคัญมากในการที่จะลดการเกิดโรคในกลุ่ม MetabolicSyndrome จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้าจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระจังหวัดสงขลา ปี 2560 ขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อการลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานรายใหม่และช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. เพื่อลดการเกิดโรคความดัน โลหิตสูง เบาหวานรายใหม่และลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วย 3. เพื่อพัฒนาหมู่บ้านเป้าหมายให้เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอดเลือด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งในรูปแบบการอบรมเป็นรายกลุ่มรายบุคล รวมทั้งการพัฒนาหมู่บ้านให้เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดอัตราการเกิดเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่ และผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง เหมาะสม ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน ส่งผลให้ลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยอาศัยการมีส่วนร่วมจากองค์กรหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามศักยภาพของชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ส่วนที่ 3 : แบบรายงานผลการดำเนินแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ(สำหรับผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ลงรายละเอียดเมื่อเสร็จสิ้นการดำเนินงาน) ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน  ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า ปีงบประมาณ 2560 กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลชุมพล 1. ผลการดำเนินงาน ผลผลิต  : 
    -  จากการตรวจคัดกรองพบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน  158 คน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจำนวน 125  คน
    -  จากการตรวจคัดกรองพบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน  94 คน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจำนวน 93  คน
    - กลุ่มเสียงได้รับการรอบรม ความรู้ตามหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤตกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส.และทักษะอื่นๆตามภาวะเสี่ยงจำนวน 30 คน
    - กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง /ผู้ดูแลได้รับการรอบรม ความรู้ในเรื่องการปฏิบัติตนในการดูแลตนเองเพื่อป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนจำนวน 30 คน
    ผลตัวชี้วัด 1. -  กลุ่มเสี่ยงฯได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 218 คน ร้อยละ 86.50 2. กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง มีระดับความดันอยู่ในระดับปกติหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 6
    เดือน จำนวน 20 คน ร้อยละ 21.50 3. กลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับปกติหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 6
    เดือน จำนวน 44 คน ร้อยละ 35.20 4. กลุ่มเสี่ยงมีอัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่ จำนวน  4 คน ร้อยละ 9.05 / โรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 1 คน ร้อยละ 5 5. หมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาผ่านเกณฑ์หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ ระดับดี ผลการประเมินตามประเด็นที่ระบุไว้ในแผนงาน/โครงการ
    ปัจจัยนำเข้า(ทรัพยากร เครื่องมือ) - อสม/เครือข่ายสุขภาพ. - ครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต(เครื่องวัดความดัน เครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด แผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด เข็มเจาะน้ำตาลในเลือด  สำลี แอลกอฮอล์) - บุคลากร/วัสดุปกรณ์ในการอบรม (ชุดสาธิตอาหาร เอกสาร แผ่นพับ แผ่นไวนิ้ล) กระบวนการ กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน - การสำรวจปัญหา


    • การของบประมาณสนับสนุน


    • ประชาสัมพันธ์ในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย - จัดเวทีประชาคมสุขภาพเพื่อชี้แจงสภาพปัญหา ร่วมแสดงความคิดเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา
    • ประชุมชี้แจงแก่คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลชุมพล หนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมาย การจัดเวทีประชาคม


    การประชุม ร่วมแสดงความคิดเห็น ความจำเป็นของปัญหา/ การสนับสนุนงบประมาณ - อสม. - ผู้รับผิดชอบงาน - โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสาธารณสุขมีความสำคัญ เป็นลำดับ 1

    • โครงการ ผ่านการอนุมัติงบประมาณจากคณะกรรมการกองทุนฯ

    • กลุ่มเสี่ยงจำนวน 30 คน

    • กลุ่มป่วย/ผู้ดูแล 30 คน กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน
    • จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วย/ผู้ดูแล





      กลุ่มเสี่ยงที่ไม่ได้เข้ารับการอบรม
    • การประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ








      คัดเลือกหมู่บ้านเป้าหมายเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค

      • คัดเลือกกลุ่มเสี่ยงที่ได้จากการตรวจคัดกรอง ตามเกณท์
    • จัดอบรมกลุ่มเสี่ยง ระยะเวลาการอบรม 1 วัน
    • จัดอบรมกลุ่มป่วย/ผู้ดูแล ระยะเวลาการอบรม 1 วัน
    • ติดตามให้ความรู้และส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่บ้าน -ให้ความรู้ในรูปแบบต่างๆเช่น คำแนะนำ/ปรึกษา แจกเอกสาร/แผ่นพับประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าว
    • ติดตามกลุ่มเป้าหมายเพื่อประเมินความก้าวหน้า ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใน เดือนที่3 เดือน และ เดือนที่ 6
    • ดำเนินการตามกิจกรรมหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค


      -วิทยากรจากรพ.สต.

    • วัสดุปกรณ์ในการอบรม (ชุดสาธิตอาหาร เอกสาร แผ่นพับ แผ่นไวนิ้ล)





    • จนท.ที่รับผิดชอบหมู่บ้าน/อสม
    • ครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิต  สายวัด





    แบบประเมินหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ .








    พบกลุ่มเสี่ยงที่มี - ระดับความดันโลหิต ลดลง จำนวน 20 คน ร้อยละ 21.51 -ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง จำนวน 44 คนร้อยละ 35.20 - ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ35.60 ควบคุมระดับ ความดันโลหิตได้ร้อยละ42.35 - ทางรพ.สต.ได้คัดเลือกหมู่ที่ 2 บ้านวัดกระชายทะเลเป็นปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ - สรุปผลการดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯตามแบบประเมิน ผ่านเกณฑ์ระดับดี 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ •บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์  เพราะ ............................................................................................................... 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม  250 คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ..... 9,000 บาท (เก้าพันบาทถ้วน) งบประมาณเบิกจ่ายจริง .......9,000........................ บาท  คิดเป็นร้อยละ ....100.................... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .......0................................. บาท  คิดเป็นร้อยละ .....0................... 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน •ไม่มี • มี -  อสม.บางคนขาดความมั่นใจในการให้คำแนะนำ ตามหลัก 3อ.2ส เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ -  กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีอายุมาก ไม่สามารถเข้ารับการอบรมได้ทั้งวัน ไม่ค่อยเข้าใจในเนื้อหาและผู้ดูแลไม่ได้เข้ารับการอบรม
    - การร่วมกิจกรรมของกลุ่มเสี่ยงและการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ให้บริการขาด ความต่อเนื่องจากภาระงาน และไม่สามารถตรวจติดตามค่าน้ำตาลในเลือดในกลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้ทุกครั้ง (1 เดือน 3 เดือน และ 6 เดือน) เนื่องจากขาดวัสดุอุปกรณ์ - การดำเนินงานในหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคประชาชนไม่ค่อยให้ความสำคัญมาตรการ ทางสังคมช่วยไม่ได้เกิดจากความต้องการของคนส่วนใหญ่ จึงไม่ได้มีการปฎิบัติตาม

    5.  ปัจจัยที่ทำให้โครงการบรรลุผลสำเร็จ/ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข/ปรับปรุง - การให้ความรู้พัฒนาศักยภาพ อสม.และเครือข่ายอย่างต่อเนื่องและควรให้อสม.เป็นบุคคลต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ - มีมาตรการทางสังคมที่เกิดจากความต้องการของคนส่วนมาก ไม่ว่าจะเป็นในเชิงบวกหรือเชิงลบ


    ผู้รายงาน (นางเจียมจิตต์ ณะกะมุสิก) ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ วันที่-เดือน-พ.ศ. 23  ตุลาคม 2560

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. เพื่อลดการเกิดโรคความดัน โลหิตสูง เบาหวานรายใหม่และลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วย 3. เพื่อพัฒนาหมู่บ้านเป้าหมายให้เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอดเลือด
    ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยงฯได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. กลุ่มเสี่ยงมีความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดอยู่ ในระดับปกติหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 6 เดือน มากกว่าร้อยละ 25 3. กลุ่มเสี่ยงมีอัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 5 / โรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 10 4. หมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาผ่านเกณฑ์หมู่บ้าน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ ระดับดี

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    2. เพื่อลดการเกิดโรคความดัน โลหิตสูง เบาหวานรายใหม่และลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วย
    3. เพื่อพัฒนาหมู่บ้านเป้าหมายให้เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอดเลือด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5238-1-13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสมรัตน์ขำมาก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด