กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง


“ โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคโดยการมีส่วนรวมของชุมชน ”

อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางแวสปีน๊ะ มะมิง

ชื่อโครงการ โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคโดยการมีส่วนรวมของชุมชน

ที่อยู่ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L8284-02-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคโดยการมีส่วนรวมของชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคโดยการมีส่วนรวมของชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคโดยการมีส่วนรวมของชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L8284-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเขตเทศบาลตำบลยะหริ่ง มีปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมาจากการดำรงชีวิตของคนในตำบลยามู ที่สภาพสังคมเปลี่ยนไป จึงเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นของพื้นที่รับผิดของเทศบาลตำบลยะหริ่ง ในการบริหารจัดการกำจัดขยะเหล่านั้น ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นมากมายทุกวัน ส่งผลให้มีขยะตกค้างเป็นจำนวนมากในแต่ละวันส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนมากมาย ได้แก่ บ้านเมืองสกปรกไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ และพาหนะนำโรคต่างๆ เช่นยุงลาย หนู แมลงสาบ แมลงวัน ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น ไข้เลือดออก อหิวาตกโรค อุจระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ เกิดการปนเปื้อนแหล่งน้ำ ทำให้แหล่งน้ำเสีย ท่อระบายน้ำอุดตัน อันเป็นสาเหตุของปัญหาน้ำท่วม เป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ เช่นฝุ่นละออง เขม่า ควัน จากการเผาขยะ และเกิดก๊าซมีเทนจากการฝังกลบขยะ ขยะบางชนิดไม่ย่อยสลายและกำจัดได้ยาก เช่น โฟม พลาสติกทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม กองทุนสวัสดิการชุมชนเทศบาลตำบลยะหริ่ง เล็งเห็นความสำคัญในการดำเนินการแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน โดยสร้างกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน จัดตั้งองค์กรชุมชนในการบริหารจัดการขยะโดยกระบวนการมีมีส่วนร่วมของประชาชน และก่อให้เกิดการสร้างรายได้ควบคู่กับการสร้างจิตสำนึกต่อการรักษ์บ้านเกิดของคนในชุมชน นอกจากจะเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน ของตนเอง จนเกิดชุมชนต้นแบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในตำบลแล้ว ยังเป็นการลดปริมาณขยะที่นำไปกำจัดโดยการเผาและฝังกลบได้ กองทุนสวัสดิการชุมชนเทศบาลตำบลยะหริ่ง จึงเห็นความสำคัญและได้นำเสนอโครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ในเขตเทศบาลตำบลยะหริ่ง ปีงบประมาณ 2563 เพื่อเป็นต้นแบบแห่งการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนอย่างแท้จริง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ชุมชนเข้าใจถึงสภาพปัญหา และค้นพบข้อเท็จจริงร่วมกัน โดยผ่านการสะท้อนคิด/วิเคราะห์/วิจารณ์/ตรวจสอบข้อมูลอย่างมีเหตุผล รู้จักชุมชนของตนเอง การตัดสินใจเลือกวิธีปฏิบัติและการคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่พึงประสงค์
  2. เพื่อให้ภาคส่วนหลักของชุมชน (ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน อสม.และเทศบาล) มีบทบาทในการกำหนดข้อตกลงร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน
  3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในชุมชนเพื่อการปรับปรุงสภาพแวดล้อมและจัดการขยะตกค้าง ในพื้นที่สาธารณะ
  4. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในครอบครัวเพื่อการคัดแยกขยะ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมบริเวณบ้าน และลดปริมาณขยะในครัวเรือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมคืนข้อมูลชุมชน จากสถานการณ์ปริมาณขยะชุมชนและจากการสนทนกลุ่มย่อย (การค้นพบข้อเท็จจริง)
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมติดตามผลการประกาศใช้ธรรมนูญสุขภาพ(ข้อตกลงชุมชนหรือฮูกมปากัต) 2 ครั้ง
  3. กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมทำความสะอาดปัดกวาดชุมชน (Big Cleaning Day)
  4. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการประกวดบ้าน/ชุมชนสะอาด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

6.1 อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี 6.2. มีบ้านและชุมชนตัวอย่าง แหล่งเรียนรู้กิจกรรมการจัดการขยะ 6.3 ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมคืนข้อมูลชุมชน จากสถานการณ์ปริมาณขยะชุมชนและจากการสนทนกลุ่มย่อย (การค้นพบข้อเท็จจริง)

วันที่ 18 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดเวทีจัดกิจกรรมคืนข้อมูลชุมชน จากสถานการณ์ปริมาณขยะชุมชนและจากการสนทนกลุ่มย่อย โดยการแบ่งกลุ่มระดมความคิดเห็นให้แต่ละกลุ่มนำเสนอ ได้ข้อตกลงร่วมของชุมชน - อาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 2 มื้อ X 50 คน = 2,500 บาท - อาหารกลางวัน 50 บาท x 1 มื้อ X 50 คน = 2,500 บาท - วัสดุอุปกรณ์ 500 บาท - ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ “การกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ในเขตเทศบาลตำบลยะหริ่ง ปีงบประมาณ 2563” ขนาด 1.25 x 2.4 เมตร ตารางเมตรละ 250 บาท เป็นเงิน750 บาท   รวมเป็นเงิน 6,250 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้อตกลงร่วมของชุมชน จำนวน 6 ข้อ

 

50 0

2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมติดตามผลการประกาศใช้ธรรมนูญสุขภาพ(ข้อตกลงชุมชนหรือฮูกมปากัต) 2 ครั้ง

วันที่ 18 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมติดตามผลการประกาศใช้ธรรมนูญสุขภาพ(ข้อตกลงชุมชนหรือฮูกมปากัต) 2 ครั้ง - อาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 2 มื้อ X 45 คน x 2 ครั้ง เป็นเงิน 4,500 บาท - อาหาร กลางวัน 50 บาท x 1 มื้อ X 45 คน x 2 ครั้ง เป็นเงิน 4,500 บาท - วัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 500 บาท รวมเป็นเงิน 9,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมติดตามผลการประกาศใช้ธรรมนูญสุขภาพ(ข้อตกลงชุมชนหรือฮูกมปากัต) 2 ครั้ง - อาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 2 มื้อ X 45 คน x 2 ครั้ง เป็นเงิน 4,500 บาท - อาหาร กลางวัน 50 บาท x 1 มื้อ X 45 คน x 2 ครั้ง เป็นเงิน 4,500 บาท - วัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 500 บาท รวมเป็นเงิน 9,500 บาท

 

45 0

3. กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมทำความสะอาดปัดกวาดชุมชน (Big Cleaning Day)

วันที่ 18 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 3  กิจกรรมทำความสะอาดปัดกวาดชุมชน (Big Cleaning Day)   - ไวนิลรณรงค์( ขนาด 1.25 x 2.4 เมตร  ตารางเมตรละ 250 บาท ) 1 แผ่น/ชุมชน รวม 3 แผ่น (750 บาท/ผืน) เป็นเงิน 2,250 บาท   - ธงสัญลักษณ์สำหรับการทำ Big cleaning รวม 3 ธง (300 บาท/ผืน) เป็นเงิน 900 บาท   - อาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 80 คน X 3 ครั้ง เป็นเงิน 6,000 บาท รวมเป็นเงิน 9,150 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้เกิดกิจกรรมทำความสะอาด( BIG CLEANNING) เป็นประจำทุกๆเดือน

 

80 0

4. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการประกวดบ้าน/ชุมชนสะอาด

วันที่ 18 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการประกวดบ้าน/ชุมชนสะอาด   - อาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 2 มื้อ X 10 คน x 2 วัน เป็นเงิน 1,000 บาท   - อาหาร กลางวัน 50 บาท x 1 มื้อ X 10 คน x 2 วัน เป็นเงิน 1,000 บาท   - วัสดุอุปกรณ์         เป็นเงิน 3,000 บาท รวมเป็นเงิน 5,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีครัวเรือนต้นแบบในการรักษาความสะอาด

 

10 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ชุมชนเข้าใจถึงสภาพปัญหา และค้นพบข้อเท็จจริงร่วมกัน โดยผ่านการสะท้อนคิด/วิเคราะห์/วิจารณ์/ตรวจสอบข้อมูลอย่างมีเหตุผล รู้จักชุมชนของตนเอง การตัดสินใจเลือกวิธีปฏิบัติและการคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่พึงประสงค์
ตัวชี้วัด : 1)ได้แผนการจัดการขยะร่วมกันในชุมชน หลังเสร็จสิ้นการคืนข้อมูล
1.00 0.00

 

2 เพื่อให้ภาคส่วนหลักของชุมชน (ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน อสม.และเทศบาล) มีบทบาทในการกำหนดข้อตกลงร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : 2)ได้ข้อตกลงชุมชนหรือกฎหมู่บ้านเพื่อการจัดการขยะร่วมกัน
1.00

 

3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในชุมชนเพื่อการปรับปรุงสภาพแวดล้อมและจัดการขยะตกค้าง ในพื้นที่สาธารณะ
ตัวชี้วัด : 3)ขยะตกค้างในที่สาธารณะลดลง
1.00

 

4 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในครอบครัวเพื่อการคัดแยกขยะ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมบริเวณบ้าน และลดปริมาณขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : 4)ปริมาณขยะตกค้างจากครัวเรือนลดลง
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ชุมชนเข้าใจถึงสภาพปัญหา และค้นพบข้อเท็จจริงร่วมกัน โดยผ่านการสะท้อนคิด/วิเคราะห์/วิจารณ์/ตรวจสอบข้อมูลอย่างมีเหตุผล รู้จักชุมชนของตนเอง การตัดสินใจเลือกวิธีปฏิบัติและการคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่พึงประสงค์ (2) เพื่อให้ภาคส่วนหลักของชุมชน (ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน อสม.และเทศบาล) มีบทบาทในการกำหนดข้อตกลงร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน (3) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในชุมชนเพื่อการปรับปรุงสภาพแวดล้อมและจัดการขยะตกค้าง ในพื้นที่สาธารณะ (4) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในครอบครัวเพื่อการคัดแยกขยะ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมบริเวณบ้าน และลดปริมาณขยะในครัวเรือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมคืนข้อมูลชุมชน  จากสถานการณ์ปริมาณขยะชุมชนและจากการสนทนกลุ่มย่อย                (การค้นพบข้อเท็จจริง) (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมติดตามผลการประกาศใช้ธรรมนูญสุขภาพ(ข้อตกลงชุมชนหรือฮูกมปากัต) 2 ครั้ง (3) กิจกรรมที่ 3  กิจกรรมทำความสะอาดปัดกวาดชุมชน (Big Cleaning Day) (4) กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการประกวดบ้าน/ชุมชนสะอาด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคโดยการมีส่วนรวมของชุมชน

รหัสโครงการ 63-L8284-02-07 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2563 - 31 สิงหาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การคัดแยกขยะ

รายได้

สิ่่งประดิษฐ์ของเหลือใช้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

กระถางต้นไม้จากแก้วพลาสติก

รูปภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

การเรียนรู้วิทยากรชุมชน

รูปภาพเวที

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

เกิดการรวมกลุ่ม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

จูจีกำปงกีตอในฃุมฃนนอกค่าย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

ศูนย์คัดแยกขยะนอกค่าย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ทำลายแหล่งลูกน้ำยุงลาย

รายงานผลค่าhi / ci

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ตู้เย็นข้างบ้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ทำกิจกรรมร่วมกันในครอบครัว

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

สภาพแวดล้อมสะอาดขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

การจัดการสภาพแวดล้อม สังคมเอื้ออาทร

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

เพิ่มรายได้จากขายขยะรีไซเคิล

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

กติกาชุม 6 ข้อ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

มีการประกาศใช้ มีปฏิทิน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคโดยการมีส่วนรวมของชุมชน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L8284-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางแวสปีน๊ะ มะมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด