กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน


“ โครงการเสริมสร้างศักยภาพเด็กวัยเรียน โรงเรียนเทศบาล1บ้านตะลุบัน ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2563 ”

หอประชุมโรงเรียนเทศบาล1 บ้านตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวชนิตา เพื่อนฝูง

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างศักยภาพเด็กวัยเรียน โรงเรียนเทศบาล1บ้านตะลุบัน ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ หอประชุมโรงเรียนเทศบาล1 บ้านตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L7010-01-03 เลขที่ข้อตกลง 003/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างศักยภาพเด็กวัยเรียน โรงเรียนเทศบาล1บ้านตะลุบัน ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หอประชุมโรงเรียนเทศบาล1 บ้านตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างศักยภาพเด็กวัยเรียน โรงเรียนเทศบาล1บ้านตะลุบัน ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างศักยภาพเด็กวัยเรียน โรงเรียนเทศบาล1บ้านตะลุบัน ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ หอประชุมโรงเรียนเทศบาล1 บ้านตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L7010-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,100.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้มีความเจริญทางด้านวัตถุ การพัฒนาเทคโนโลยีที่ช่วยในการดำรงชีวิต ทำให้การดำเนินชีวิตของคนในสังคมมีการเผชิญกับปัญหาหลายด้าน ผู้ที่สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขและประสบความสำเร็จนั้น “ความฉลาดทางอารมณ์ (E.Q.)เป็นสิ่งที่สำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับนักเรียน ซึ่งเป็นกลุ่มหนึ่งที่จำเป็นต้อง รับรู้ หรือใช้เทคโนโลยีต่างๆมากขึ้นและกำลังอยู่ในวัยที่มักจะมีปัญหาหลายด้าน ทั้งด้านการเรียน การคบเพื่อน และปัญหาทางครอบครัว หากนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและได้พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ จะทำให้นักเรียนมีแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสมในการพัฒนาจิตใจ อารมณ์ และทักษะการคิดของตนเอง รวมทั้งมีความสามารถในการจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างราบรื่น อันจะนำไปสู่การดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุข องค์ความรู้ทักษะสมองเพื่อชีวิตที่สำเร็จ ด้วยการพัฒนาทักษะสมองที่มากกว่าไอคิว มีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับใช้จัดการชีวิตในยุคปัจจุบัน ซึ่งทำให้เด็กไทยรู้จักรับมือกับยุคใหม่ จัดการตัวเองได้ อยู่กับคนอื่นเป็น และใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ซึ่งเป็นรากฐานของคนจริงๆ ทักษะพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ (Executive Functions หรือ EF ) เป็นทักษะที่นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกยอมรับแล้วว่า เป็นทักษะที่นำไปสู่ความสำเร็จในชีวิต คิดเป็น ทำงานเป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่กับผู้คนเป็น มุ่งมั่นในการทำสิ่งต่างๆจนลุล่วง และมีความสุขแก้ปัญหาได้ จึงมีความจำเป็นในการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาทักษะความฉลาดทางอารมณ์ให้กับเด็ก ดังนั้นโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรีมีแนวคิดที่จะส่งเสริมศักยภาพเด็กวัยเรียนโรงเรียนเทศบาล1บ้านตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ซึ่งในการจัดทำโครงการในครั้งนี้ ในฐานะเป็นนักจิตวิทยาจึงเลือกใช้รูปแบบการเสริมสร้างศักยภาพด้านอารมณ์ พฤติกรรมความประพฤติ พฤติกรรมด้านการเรียน/สมาธิและศักยภาพด้านสัมพันธภาพ/ด้านการสื่อสาร อันจะนำไปสู่การปลูกฝังให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้การมีความฉลาดทางอารมณ์ เพื่อป้องกันปัญหาการใช้ความรุนแรงในโรงเรียนเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
  2. เพื่อฝึกให้เด็กมีจิตใจสงบนิ่ง และมีสมาธิแบบง่ายๆ
  3. เพื่อให้เด็กรู้จักการมองหาสิ่งดีๆในแต่ละวัน ในชีวิตรอบตัว
  4. เพื่อให้เด็กสามารถแยกแยะพฤติกรรมดีและไม่ดีได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพด้านอารมณ์ 2.กิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพพฤติกรรมความประพฤติ 3.กิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพพฤติกรรมด้านการเรียน/สมาธิ 4.กิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพศักยภาพด้านสัมพันธภาพ/ด้านการสื่อสาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2.เด็กสงบนิ่ง และมีสมาธิแบบง่ายๆ 3.เด็กรู้จักการมองหาสิ่งดีๆในแต่ละวัน ในชีวิตรอบตัว 4.เด็กสามารถแยกแยะพฤติกรรมดีและไม่ดีได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90ของเด็กมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
0.00

 

2 เพื่อฝึกให้เด็กมีจิตใจสงบนิ่ง และมีสมาธิแบบง่ายๆ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90ของเด็กสงบนิ่ง และมีสมาธิแบบง่ายๆ
0.00

 

3 เพื่อให้เด็กรู้จักการมองหาสิ่งดีๆในแต่ละวัน ในชีวิตรอบตัว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90ของเด็กรู้จักการมองหาสิ่งดีๆในแต่ละวัน ในชีวิตรอบตัว
0.00

 

4 เพื่อให้เด็กสามารถแยกแยะพฤติกรรมดีและไม่ดีได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90ของเด็กสามารถแยกแยะพฤติกรรมดีและไม่ดีได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (2) เพื่อฝึกให้เด็กมีจิตใจสงบนิ่ง และมีสมาธิแบบง่ายๆ (3) เพื่อให้เด็กรู้จักการมองหาสิ่งดีๆในแต่ละวัน ในชีวิตรอบตัว (4) เพื่อให้เด็กสามารถแยกแยะพฤติกรรมดีและไม่ดีได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพด้านอารมณ์  2.กิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพพฤติกรรมความประพฤติ  3.กิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพพฤติกรรมด้านการเรียน/สมาธิ 4.กิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพศักยภาพด้านสัมพันธภาพ/ด้านการสื่อสาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างศักยภาพเด็กวัยเรียน โรงเรียนเทศบาล1บ้านตะลุบัน ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L7010-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวชนิตา เพื่อนฝูง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด