กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ


“ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชนและอสม. ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ”

ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุนันทา แสงอรุณ (พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รักษาการในตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.ทำนบ)

ชื่อโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชนและอสม. ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5264-1-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชนและอสม. ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชนและอสม. ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ ๒๕๖๓



บทคัดย่อ

โครงการ " ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชนและอสม. ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5264-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,891.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทำนบ ย้อนหลัง 3 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 25๕๙ – พ.ศ. 256๑ พบจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวนทั้งสิ้น ๒๖ ราย ไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิต โดยแยกผู้ป่วยเป็นรายปี ดังนี้ ในปี พ.ศ.25๕๙ มีผู้ป่วยทั้งหมด ๕ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๑๑๕.๗๗ ต่อประชากรแสนคนในปี พ.ศ.256๐มีจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด ๗ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๑๖๒.๐๗ ต่อประชากรแสนคน และในปี พ.ศ.256๑ มีจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด ๑๔ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๓๒๔.๑๕ ต่อประชากรแสน และในปัจจุบัน ปีงบประมาณ พ.ศ.256๒ ตั้งแต่มกราคม-ธันวาคม พบผู้ป่วยไข้เลือดออกในตำบลทำนบแล้ว ๙ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๒๐๓.๓๘ ต่อประชากรแสนคน แสดงให้เห็นว่าตำบลทำนบยังมีแนวโน้มการระบาดของโรคไข้เลือดออกอยู่
ดังนั้นเป็นการยากที่จะดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพหากจะอาศัยเพียงแต่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพียงอย่างเดียวเนื่องจากแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายมีอยู่ทั่วไปทั้งในชุมชนและในโรงเรียน ดังนั้นการที่จะป้องกันและควบคุมโรคให้ได้ผลเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน อสม. โรงเรียนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทำนบได้เห็นถึงความสำคัญและตระหนักถึงปัญหาของโรคไข้เลือดออก จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และสำรวจลูกน้ำยุงลาย
  2. กิจกรรมกำจัดยุงลาย ตัวอ่อน/ตัวแก่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนทุกหลังคาเรือน 1,123
วัด 4
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 96
โรงเรียน 3

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กร ชุมชน และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกดี มีการรณรงค์กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชนครอบคลุม 100 % ทำให้อัตราความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายลดลงอย่างต่อเนื่องส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงทุกปี จนเกิดเป็นหมู่บ้าน/ตำบลปลอดไข้เลือดออกอย่างยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมกำจัดยุงลาย ตัวอ่อน/ตัวแก่

วันที่ 4 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าน้ำยาพ่นหมอกควันกำจัดตัวแก่ยุงลาย  จำนวน  1  ขวด      เป็นเงิน  1,800  บาท ค่าสเปรย์ฉีดยุง 60 กระป๋อง X 65 บาท                              เป็นเงิน  3,900  บาท น้ำมันเบนซินและน้ำมันโซล่า                                            เป็นเงิน  6,876  บาท ค่าจ้างเหมาพ่นสารเคมีกำจัดยุงลาย                                  เป็นเงิน  3,600  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลูกน้ำยุลงลายในพื้นที่ตำบลทำนบลดลง

 

0 0

2. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และสำรวจลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 4 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.แผ่นพับความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกจำนวน 1,123 ครัวเรือนๆละ 1 แผ่นๆละ 5 บาท
เป็นเงิน 5,615 บาท
2. ถ่ายเอกสารแบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย จำนวน อสม.96 คนๆ ละ 1 ใบ จำนวน 12 เดือน รวม 1152 แผ่นๆละ 50 สตางค์  เป็นเงิน 576 บาท
3. ค่าสารเคมี(ทรายมีฟอส)กำจัดลูกน้ำยุงลาย 3 ถังๆละ 500 ซอง ราคาถังละ 5,000 บาท
เป็นเงิน 15,000 บาท 4. ค่าโลชั่นทากันยุงชนิดซอง 5 กรัม ซองละ 8 บาท จำนวน 400 ซอง เป็นเงิน 3,200 บาท
5. ป้ายประชาสัมพันธ์ขนาดใหญ่จำนวน 1 ป้ายขนาด 3.5X3.5 เมตรเป็นเงินราคา 900 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กร ชุมชน และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกดี มีการรณรงค์กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชนครอบคลุม 100 % ทำให้อัตราความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายลดลงอย่างต่อเนื่องส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงทุกปี จนเกิดเป็นหมู่บ้าน/ตำบลปลอดไข้เลือดออกอย่างยั่งยืน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1227
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชนทุกหลังคาเรือน 1,123
วัด 4
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 96
โรงเรียน 3

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และสำรวจลูกน้ำยุงลาย (2) กิจกรรมกำจัดยุงลาย ตัวอ่อน/ตัวแก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชนและอสม. ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5264-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุนันทา แสงอรุณ (พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รักษาการในตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.ทำนบ) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด