แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)
เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator) | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต (Output) | ผลลัพธ์ (Outcome) | ผลกระทบ (Impact) | อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อคัดกรองคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 90 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองร้อยละ 40 3.เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ร้อยละ 50 5. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 6.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ให้มีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้า ร้อยละ 70 ตัวชี้วัด : 1. คัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป ร้อยละ 90 ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง 2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ.2 ส. ร้อยละ 40 3. กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 60 ประมวลผลจากฐานข้อมูล JHCIS 4. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านร้อยละ 50ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง 5. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 5ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง 6. อสม.มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประเมินจากแบบทดสอบการอบรม ก่อน-หลัง มีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 85 7. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติร้อยละ 70 ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง |
1.00 |