กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต


“ โครงการส่งเสริมโภชนาการ เพื่อป้องกันภาวะขาดอาหารและพัฒนาการไม่สมวัยในเด็ก 0 - 72 เดือน ”

หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจุฬา รักใหม่

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการ เพื่อป้องกันภาวะขาดอาหารและพัฒนาการไม่สมวัยในเด็ก 0 - 72 เดือน

ที่อยู่ หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 15/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมโภชนาการ เพื่อป้องกันภาวะขาดอาหารและพัฒนาการไม่สมวัยในเด็ก 0 - 72 เดือน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการ เพื่อป้องกันภาวะขาดอาหารและพัฒนาการไม่สมวัยในเด็ก 0 - 72 เดือน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการ เพื่อป้องกันภาวะขาดอาหารและพัฒนาการไม่สมวัยในเด็ก 0 - 72 เดือน " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,875.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นโยบายกระทรวงสาธารณสุขและจุดเน้นประเด็น smart kids ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในกลุ่มปฐมวัย 0-5 ปี เด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกินการขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการของเด็ก เช่น สิ่งแวดล้อม การเลี้ยงดูโดยการสร้างเสริมกิจกรรมกับเด็กผ่านการเล่น เป็นการส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่สำคัญ รวมถึงการติดตามพัฒนาการด้านการเจริญ เติบโตทางด้านร่างกาย เช่น รูปร่าง น้ำหนัก ส่วนสูง ของเด็กให้เหมาะสมตามวัย และที่สำคัญควรพาเด็กไปรับบริการตรวจสุขภาพ และรับวัคซีนอย่างต่อเนื่อง เพื่อติดตามดูการเจริญเติบโต และพัฒนาการของเด็กสิ่งต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลให้เด็กเติบโตขึ้นอย่างมีความสุขและมีคุณภาพ การประเมินผลการเฝ้าระวังทาง ภาวะโภชนาการเด็กอายุแรกเกิด – 72 เดือนที่อยู่ในหมู่บ้าน พบว่าในพื้นที่เขตรับผิดชอบรพ.สต.ปันแตในไตรมาสที่ 2/๒๕๖3 มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 25 คน จากเด็กทั้งหมด 297 คนคิดเป็นร้อยละ8.41ซึ่งตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ7 และในอนาคตมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากการที่เด็กมีน้ำหนักน้อยกว่า ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา ของเด็กและหากปัญหาเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ไม่ได้รับการแก้ไขจะส่งผลต่อประเทศชาติ ทำให้ประเทศชาติไม่มีการพัฒนา เพราะเด็กเป็นอนาคตของชาติที่สำคัญ ถ้ามีการแก้ไขปัญหาที่ดีทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า ก็จะหมดไปสำหรับผู้ปกครองเด็กอายุแรกเกิด – 72 เดือน ในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.ปันแต ส่วนใหญ่ ไม่ให้ความสำคัญในการส่งเสริมการเจริญเติบโต ทางด้านร่างกาย และพัฒนาการด้านต่างๆ ปล่อยให้พัฒนาการของเด็ก เป็นไปตามธรรมชาติ เป็นไปตามพันธุกรรมที่ได้รับจาก พ่อแม่ เท่านั้น ขาดการกระตุ้น และการส่งเสริมที่ถูกต้องตามหลักการเลี้ยงดูเด็ก รพ.สต.ปันแต ได้ดำเนินกิจกรรม ในการดูแลเฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ในด้านต่างๆ โดยเริ่มตั้งแต่ การฝากครรภ์ การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การติดตามการเจริญเติบโตด้านร่างกาย การดูแลด้านสุขภาพช่องปาก การบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สิ่งเหล่านี้ล้วนส่งเสริม พัฒนาการของเด็ก เพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายในการพัฒนาส่งเสริมคุณภาพชีวิตเด็กวัยแรกเกิด - 72 เดือน ทาง รพ.สต.ปันแต ได้ให้ความสำคัญ และจัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อ 1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด -72 เดือน มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและการประเมินพัฒนาการเด็กตามวัย ข้อ 2 เพื่อลดจำนวนเด็กแรกเกิด -72 เดือน มีน้ำหนักน้อยกว่า เกณฑ์ ข้อ 3เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากภาวะขาดสารอาหารในเด็กแรกเกิด -72 เดือน ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็ก แรกเกิด – 72 เดือน ได้รับการส่งเสริม พัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาสมวัยตามวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องโภชนาการและพัฒนาการเด็กที่มีภาวะโภชนาการอ้วน เตี้ย ผอม
  2. ติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง แปรผลภาวะโภชนาการและประเมินพฤติกรรมการบริโภคของเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์
  3. การให้คำแนะนำแก้ไขปัญหาการเลี้ยงบุตรเป็นรายบุคคล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – 72 เดือน สามารถเลี้ยงดูเด็กให้มีคุณ 2.เด็กแรกเกิด – 72 เดือน มีพัฒนาการสมวัย และมีรูปร่างสมส่วน 3.เด็กแรกเกิด – 72 เดือน ที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มีภาวะโภชนาการดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องโภชนาการและพัฒนาการเด็กที่มีภาวะโภชนาการอ้วน เตี้ย ผอม

วันที่ 1 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องโภชนาการและพัฒนาการเด็กที่มีภาวะโภชนาการอ้วน เตี้ย ผอม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด-72 เดือน ได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและการประเมินพัฒนาการเด็กตามวัย

 

58 0

2. การให้คำแนะนำแก้ไขปัญหาการเลี้ยงบุตรเป็นรายบุคคล

วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง  แปรผลภาวะโภชนาการและประเมินพฤติกรรมการบริโภคของเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็ก0-72 เดือน มีน้ำหนักตามเกณฑ์ ส่วนสูงตามเกณฑ์ สมส่วน เพิ่มขึ้น จากการติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง  แปรผลภาวะโภชนาการหลังจากรับประทานนม จำนวน 3 เดือน  มีระดับน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ ส่วนสูงตามเกณฑ์ (สมส่วน) เพิ่มขึ้นจำนวน 10 คน จากกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะโภชนาการ ผอม และเตี้ย  จำนวน 34 คน

 

34 0

3. ติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง แปรผลภาวะโภชนาการและประเมินพฤติกรรมการบริโภคของเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์

วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง  แปรผลภาวะโภชนาการและประเมินพฤติกรรมการบริโภคของเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็ก0-72 เดือน มีน้ำหนักตามเกณฑ์ ส่วนสูงตามเกณฑ์ สมส่วน เพิ่มขึ้น จากการติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง  แปรผลภาวะโภชนาการหลังจากรับประทานนม จำนวน 3 เดือน  มีระดับน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ ส่วนสูงตามเกณฑ์ (สมส่วน) เพิ่มขึ้นจำนวน 10 คน จากกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะโภชนาการ ผอม และเตี้ย  จำนวน 34 คน

 

58 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ผลการดำเนินงาน
ผลลัพธ์ ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด-72 เดือน ได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและการประเมินพัฒนาการเด็กตามวัย โดย นางวารินทร์ รอดขำ เด็ก0-72 เดือน มีน้ำหนักตามเกณฑ์ ส่วนสูงตามเกณฑ์ สมส่วน เพิ่มขึ้น จากการติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง แปรผลภาวะโภชนาการหลังจากรับประทานนม จำนวน 3 เดือน  มีระดับน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ ส่วนสูงตามเกณฑ์ (สมส่วน) เพิ่มขึ้นจำนวน 10 คน จากกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะโภชนาการ ผอม และเตี้ย จำนวน 34 คน
ผลการดำเนินการการคัดกรองพัฒนาการเด็กตามกลุ่มอายุ specialpp เขตสุขภาพที่ 12 จังหวัดพัทลุง อำเภอควนขนุน ปี งบประมาณ2563 เด็ก 0.72 เดือน มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 97.96 รายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ 1. กิจกรรม ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องโภชนาการและพัฒนาการเด็กที่มีภาวะโภชนาการอ้วน เตี้ย ผอม - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 58 คน x 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 1,450 บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง x 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท - ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการ จำนวน 56 แผ่น ๆ 0.50 บาท เป็นเงิน 28 บาท 2. กิจกรรมย่อย ติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง แปรผลภาวะโภชนาการและประเมินพฤติกรรมการบริโภคของเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ -.ค่าถ่ายเอกสาร แบบฟอร์มบันทึกการดื่มนม จำนวน 34 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 17 บาท 3. กิจกรรมย่อย การให้คำแนะนำแก้ไขปัญหาการเลี้ยงบุตรเป็นรายบุคคล - ค่าอาหารเสริมนมกล่อง ยูเอช ที รสจืด สำหรับเด็กที่มีภาวะโภชนาการ เตี้ย ผอม
จำนวน 34 คนๆ ละ 90 กล่อง ๆ ละ 8 บาท เป็นเงิน 24,480 บาท ผลที่คาดว่าได้รับ 1. ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – 72 เดือน สามารถเลี้ยงดูเด็กให้มีคุณภาพ 2. เด็กแรกเกิด – 72 เดือน มีพัฒนาการสมวัย และมีรูปร่างสมส่วน 3. เด็กแรกเกิด – 72 เดือน ที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มีภาวะโภชนาการดีขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อ 1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด -72 เดือน มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและการประเมินพัฒนาการเด็กตามวัย ข้อ 2 เพื่อลดจำนวนเด็กแรกเกิด -72 เดือน มีน้ำหนักน้อยกว่า เกณฑ์ ข้อ 3เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากภาวะขาดสารอาหารในเด็กแรกเกิด -72 เดือน ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็ก แรกเกิด – 72 เดือน ได้รับการส่งเสริม พัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาสมวัยตามวัย
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด -72 เดือน ได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและการประเมินพัฒนาการเด็กตามวัย ข้อที่ 2 เด็ก 0 –72 เดือนมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 7 ข้อ 3จำนวน เด็ก แรกเกิด -72 เดือนมีภาวะ การเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากการขาดสารอาหารน้อยกว่าร้อยละ 7 ข้อ 4เด็ก 0 – 72 เดือน มีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่า ร้อยละ 95
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1  เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด -72 เดือน มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและการประเมินพัฒนาการเด็กตามวัย  ข้อ 2 เพื่อลดจำนวนเด็กแรกเกิด -72 เดือน มีน้ำหนักน้อยกว่า เกณฑ์ ข้อ 3เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากภาวะขาดสารอาหารในเด็กแรกเกิด  -72 เดือน ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็ก แรกเกิด – 72 เดือน ได้รับการส่งเสริม พัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาสมวัยตามวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องโภชนาการและพัฒนาการเด็กที่มีภาวะโภชนาการอ้วน เตี้ย ผอม (2) ติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง  แปรผลภาวะโภชนาการและประเมินพฤติกรรมการบริโภคของเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (3) การให้คำแนะนำแก้ไขปัญหาการเลี้ยงบุตรเป็นรายบุคคล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมโภชนาการ เพื่อป้องกันภาวะขาดอาหารและพัฒนาการไม่สมวัยในเด็ก 0 - 72 เดือน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจุฬา รักใหม่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด