กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยสมุนไพรไทย ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
อาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 10 บ้านปากปิง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยสมุนไพรไทย

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 2 - 03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 25 กุมภาพันธ์ 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยสมุนไพรไทย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยสมุนไพรไทย



บทคัดย่อ

อาการปวดเข่าเป็นอาการที่พบได้บ่อยซึ่งเกิดตามการเปลี่ยนแปลงของวัยที่เพิ่มขึ้น ปัญหาการปวดเข่าเกิด จากหลายสาเหตุ เช่น จากการทำงาน มีการบาดเจ็บที่เข่า ข้อเข่าอักเสบ ข้อเข่าเสื่อม น้ำหนักตัวมากเกินไป อายุที่เพิ่มขึ้นตามสภาพของร่างกาย เป็นต้น ปวดเข่ามักจะเป็นสาเหตุของอาการปวดที่พบได้มากในกลุ่มของผู้สูงอายุและอาจจะมีในกลุ่มของประชาชนทั่วไป โดยการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1.) เพื่อส่งเสริมสุขภาพของประชาชน โดยการใช้สมุนไพรไทยในการรักษาและลดอาการข้อเข่าเสื่อม 2.) เพื่อลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการรักษาโรคด้วยยาแผนปัจจุบัน ผลการดำเนินงาน พบว่า


กิจกรรมตรวจคัดกรองประชาชนทั่วไปอายุระหว่าง 40-60 ปี

ตัวชี้วัดกิจกรรม ประชาชนที่มีอายุ 40-60 ปี ในพื้นที่หมู่ที่ 10 ได้รับการตรวจคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม ร้อยละ 100 โดยใช้แบบประเมินระดับคะแนนการปวด ผลการตรวจคัดกรองเบื้องต้นพบว่า ระดับคะแนนการปวดจำนวนมากที่สุด ระดับ 4-5 คิดเป็นร้อยละ 56.00 รองลงมาระดับระดับ 6-7 คิดเป็นร้อยละ 44.00 ตามลำดับ และช่วงอายุที่มีอาการปวดมากที่สุด 41-50 ปี จำนวน 19 คน รองลงมา 51-60 ปี จำนวน 15 คน และช่วงอายุ 30-40 ปี จำนวน 9 คน


กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อและกระดูกและการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาโรคเบื้องต้น

การจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้พร้อมทั้งสอน/สาธิตขั้นตอนการทำลูกประคบสมุนไพร น้ำมันไพรและ ยาฟอกเข่า พร้อมทั้งสอนวิธีการนวด ท่าการบริหารร่างกาย กลุ่มเป้าหมายที่เข้าอบรมประชาชนกลุ่มเสี่ยงจำนวน 50 คน ตัวชี้วัดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวโรคข้อและกระดูก ประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรมประเมินผลก่อนการอบรม พบว่า ผู้เข้าอบรมมีความรู้ร้อยละ 70 และหลังการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมมีระดับความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 88 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจ และความสำคัญในการจัดกิจกรรม


กิจกรรมส่งเสริมการปลูกสมุนไพรในชุมชน

ตัวชี้วัดกิจกรรมประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 นำพืชสมุนไพรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ผู้จัดทำโครงการรณรงค์ให้ครัวเรือนในชุมชนปลูกสมุนไพรต่างๆ ทั้งที่ใช้เป็นยารักษาโรคเบื้องต้นและประกอบอาหาร เพราะสมุนไพรบางชนิดมีสรรพคุณเป็นยารักษาโรค ประชาชนส่วนหนึ่งบางครัวเรือนก็ปลูกสมุนไพรกันอยู่แล้ว ร้อยละ 20 หลังจากมีการรณรงค์ให้ครัวเรือนปลูกพืชสมุนไพร พบว่าครัวเรือนปลูกสมุนไพรเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 60 และจากการสอบถามเหตุผลในการปลูกสมุนไพร ส่วนใหญ่นำมาประกอบอาหาร เพราะเห็นว่าสมุนไพรบางชนิดมีสรรพคุณในการรักษาโรค ถ้ารับประทานน่าจะส่งผลที่ดีกับร่างกาย


กิจกรรมติดตามผลกลุ่มเป้าหมาย

จากเดิมกลุ่มเป้าหมายมีระดับคะแนนการปวด 4-5 จำนวน 28 คนและระดับคะแนนการปวด 6-7 จำนวน 22 คน ได้ติดตามผลครั้งที่ 1 กลุ่มเป้าหมายยังคงมีอาการเหมือนเดิม ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 กลุ่มเป้าหมายมีอาการปวดลดลงจากระดับการปวด 6-7 ลดลงมาระดับการปวด 4-5 และ 1-3 จากการสอบถามอาการเบื้องต้นบางรายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง เช่น ออกกำลังกาย เพื่อให้อาการปวดเมื่อยลดลงมาบาง เลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ส่วนการประกอบอาชีพในบางรายไม่สามารถที่จะหยุดทำงานได้ เมื่อมีการปวดก็กินยาหรือประคบสมุนไพรเบื้องต้น จะเห็นได้ว่าอาการปวดของกลุ่มเป้าหมายไม่ได้ลดลงตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ เนื่องจากบางคนต้องประกอบอาชีพ อายุที่เพิ่มขึ้น และอาการปวดเหล่านี้ต้องใช้ระยะเวลาในการรักษาถึงได้หายได้

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาการปวดเข่าเป็นอาการที่พบได้บ่อยซึ่งเกิดตามการเปลี่ยนแปลงของวัยที่เพิ่มขึ้น ปัญหาการปวดเข่าเกิด จากหลายสาเหตุ เช่น จากการทำงาน มีการบาดเจ็บที่เข่า ข้อเข่าอักเสบ ข้อเข่าเสื่อม น้ำหนักตัวมากเกินไป อายุที่เพิ่มขึ้นตามสภาพของร่างกาย เป็นต้น ปวดเข่ามักจะเป็นสาเหตุของอาการปวดที่พบได้มากในกลุ่มของผู้สูงอายุและอาจจะมีในกลุ่มของประชาชนทั่วไป

จากการสุ่มสอบถามปัญหาสุขภาพของประชาชนในกลุ่มประชาชนทั่วไปและกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่หมู่ที่ 10 บ้านปากปิง จำนวน 100 คน ซึ่งมีปัญหาด้านการเคลื่อนไหวทางกาย (ปวดเข่า) จำนวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 54.00 ซึ่งข้อมูลนี้แสดงให้เห็นว่าอาการปวดเข่าเป็นปัญหาที่มีผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก และต้องอาศัยระยะเวลาในการรักษาที่ต่อเนื่อง ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น และเป็นปัญหากับการประกอบอาชีพ ซึ่งส่วนใหญ่ประชาชนในพื้นที่จะประกอบอาชีพเกษตรกร ทำให้การใช้ร่างกายหนักขึ้น เป็นผลทำให้สมรรถภาพการทำงานของร่างกายลดลง แต่ไม่สามารถประกอบกิจกรรมได้ลดลงจากเดิม ทำให้ไม่มีความสุขเกิดความทุกข์จากอาการที่ปวด การรักษาในปัจจุบันเป็นการรักษาตามอาการที่เน้นในทางบรรเทาอาการปวด และป้องกันการทำลายข้อเพิ่มมากขึ้น มีแนวทางการรักษาต่างๆ เพื่อควบคุมอาการปวดที่เกิดขึ้นคือเป็นการใช้ยา เช่นยาแก้ปวด ยาต้านการอักเสบของกล้ามเนื้อและข้อต่อ ยาคลายกล้ามเนื้อ การฉีดยา และอีกหนึ่งทางเลือก คือกายภาพบำบัด การใช้ความร้อนเพื่อบรรเทาอาการปวด หรือการให้คำแนะนำเกี่ยวกับลักษณะอาการโรค การปฏิบัติตัว เช่น การลดน้ำหนัก อิริยาบถที่ถูกต้อง หรือการทำงานที่เหมาะสม สำหรับการรักษาโรคในปัจจุบันประชาชนหันมาใช้บริการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น โดยในพื้นที่ตำบลกำแพงเองก็มีการปลูกสมุนไพรหลากหลายชนิดทั้งใช้ในการบริโภคและการรักษาโรคเบื้องต้น และลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเบื้องต้นได้

ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมการแพทย์แผนไทย การนำภูมิปัญญาพื้นบ้านมาใช้ให้เกิดประโยชน์และปลอดภัย จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อเป็นการนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นนำมาประยุกต์ใช้ในการรักษาโรคและบรรเทาอาการปวดเข่าของประชาชนในชุมชน จึงได้นำสมุนไพรมาทำลูกประคบ ยาฟอกเข่าและน้ำมันไพร เพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ลดการติดของข้อต่อ ลดอาการบวมที่เกิดจากการอักเสบของกล้ามเส้นเส้นเอ็น หรือบริเวณข้อต่างๆ ช่วยทำให้ผ่อนคลายและคลายความเครียด เป็นการเพิ่มทางเลือกใหม่ให้กับประชาชนและกลุ่มผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่าสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง สม่ำเสมอ และยังสามารถทำได้ขณะอยู่บ้าน เป็นการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในท้องถิ่น ลดค่าใช้จ่าย ลดการใช้ยาแก้ปวด และทำให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพของประชาชน โดยการใช้สมุนไพรไทยในการรักษาและลดอาการข้อเข่าเสื่อม
  2. เพื่อลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการรักษาโรคด้วยยาแผนปัจจุบัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจคัดกรองประชาชนทั่วไปอายุระหว่าง 40-60 ปี
  2. ส่งเสริมการปลูกสมุนไพรในชุมชน
  3. อบรมให้ความรู้เกี่ยวโรคข้อและกระดูก และการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาโรคเบื้องต้น แก่กลุ่มเป้าหมาย
  4. ติดตามผลกลุ่มเป้าหมาย
  5. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะทำงาน 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อและกระดูกและสามารถนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ในการรักษาอาการปวดเข่าเบื้องต้น
  2. อาการปวดเมื่อยตามส่วนต่างๆ ของร่างกายของประชาชนในชุมชน มีอัตราการปวดลดลง
  3. ปริมาณการใช้ยาและค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ส่งเสริมการปลูกสมุนไพรในชุมชน

วันที่ 1 เมษายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์ให้ครัวเรือนในชุมชนปลูกสมุนไพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตัวชี้วัดกิจกรรมประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 นำพืชสมุนไพรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ผู้จัดทำโครงการรณรงค์ให้ครัวเรือนในชุมชนปลูกสมุนไพรต่างๆ ทั้งที่ใช้เป็นยารักษาโรคเบื้องต้นและประกอบอาหาร เพราะสมุนไพรบางชนิดมีสรรพคุณเป็นยารักษาโรค ประชาชนส่วนหนึ่งบางครัวเรือนก็ปลูกสมุนไพรกันอยู่แล้ว ร้อยละ 20 หลังจากมีการรณรงค์ให้ครัวเรือนปลูกพืชสมุนไพร พบว่าครัวเรือนปลูกสมุนไพรเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 60 และจากการสอบถามเหตุผลในการปลูกสมุนไพร ส่วนใหญ่นำมาประกอบอาหาร เพราะเห็นว่าสมุนไพรบางชนิดมีสรรพคุณในการรักษาโรค ถ้ารับประทานน่าจะส่งผลที่ดีกับร่างกาย

 

0 0

2. ตรวจคัดกรองประชาชนทั่วไปอายุระหว่าง 40-60 ปี

วันที่ 4 เมษายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม

  1. การคัดกรองเบื้องต้น โดยการคัดเลือกประชาชนทั่วไปอายุระหว่าง 40-60 ปี

  2. การคัดกรองอาการโดยใช้แบบประเมินระดับคะแนนการปวด

  3. จากนั้นคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการคัดกรองที่มีระดับคะแนนการปวด 4 – 10 คะแนน จำนวน 50 คน เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการตรวจคัดกรองประชาชนทั่วไปอายุระหว่าง 40-60 ปี โดยคัดกรองอาการโดยใช้แบบประเมินระดับคะแนนการปวด 5 ระดับ ได้แก่

ระดับ 0  หมายถึง ไม่มีอาการปวดเลย
ระดับ 1 – 3 หมายถึง มีอาการปวดเล็กน้อยไม่มีความกังกล ไม่มีความทุกข์ทรมานแต่อย่างใด
ระดับ 4 – 5 หมายถึง มีอาการปวดปานกลาง ความรู้สึกทรมานจากอาการปวดพอสมควร แต่ยัง สามารถทนได้
ระดับ 6 – 7 หมายถึง มีอาการปวดมาก มีความกังวล พักผ่อนได้ไม่เพียงพอ เริ่มทีความรู้สึกว่าไม่สามารถทนได้
ระดับ 8 – 9 หมายถึง มีอาการปวดรุนแรงรู้สึกทรมานจาการอาการปวดมากไม่สามารถนอนหลับพักผ่อนได้
ระดับ 10  หมายถึง มีอาการปวดรุนแรงจนไม่สามารถทนได้


คัดเลือกกลุ่มที่มีความเสี่ยงที่มีอาการปวดเข่า ที่มีระดับคะแนนการปวด 4 – 10 คะแนน นำร่องจำนวน 50 คน ผลการตรวจคัดกรองเบื้องต้นพบว่า ระดับคะแนนการปวดจำนวนมากที่สุด ระดับ 4-5 คิดเป็นร้อยละ 56.00 รองลงมาระดับระดับ 6-7 คิดเป็นร้อยละ 44.00 ตามลำดับ ดังตารางที่ 1 และช่วงอายุที่มีอาการปวดมากที่สุด 41-50 ปี จำนวน 19 คน รองลงมา 51-60 ปี จำนวน 15 คน และช่วงอายุ 30-40 ปี จำนวน 9 คน ดังตารางที่ 2


ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของระดับคะแนนการปวด จำนวน 50 คน
ระดับคะแนนการปวด 4 - 5 คะแนน จำนวน 28 ร้อยละ 56.00

ระดับคะแนนการปวด 6 - 7 คะแนน จำนวน 22 ร้อยละ 44.00

ระดับคะแนนการปวด 8  คะแนน จำนวน - ร้อยละ -

ระดับคะแนนการปวด 9  คะแนน จำนวน - ร้อยละ -

ระดับคะแนนการปวด 10 คะแนน จำนวน - ร้อยละ -


ตารางที่ 2 จำนวนช่วงอายุที่ตรวจคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม จำนวน 50 คน

ช่วงอายุ 30-40 ปี จำนวน 9 คน

ช่วงอายุ 41-50 ปี จำนวน 19 คน

ช่วงอายุ 51-60 ปี จำนวน 15 คน

ช่วงอายุ 61-70 ปี จำนวน 4 คน


จากตารางข้างต้น ระดับคะแนนการปวดมากที่สุดระดับ 4-5 มีอาการปวดปานกลาง ความรู้สึกทรมานจากอาการปวดพอสมควร แต่ยังสามารถทนได้ จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 56.00 อาการปวดเหล่านี้ ส่วนใหญ่อายุอยู่ในช่วง 41-60 ปี ซึ่งอาการของแต่ละคนระดับการปวดก็มีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการประกอบอาชีพ อายุ เมื่ออายุมากขึ้นก็ส่งผลกับการปวดที่เพิ่มขึ้น บางคนก็ไม่ได้เข้าถึงการรักษาเท่าที่ควร แค่บรรเทาอาการปวดเบื้องต้น รวมทั้งน้ำหนักตัวก็เป็นส่วนหนึ่งที่ส่งผลต่ออาการปวดเข่า

 

0 0

3. อบรมให้ความรู้เกี่ยวโรคข้อและกระดูก และการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาโรคเบื้องต้น แก่กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 12 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม

วันที่ 1 (ครึ่งวัน)
- บรรยาย เรื่องโรคข้อและกระดูก อาการ สาเหตุและการรักษา
- บรรยาย เรื่องการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษา ลดอาการปวดเข่า

วันที่ 2 (1 วัน)
- สอน/สาธิต ขั้นตอนการทำลูกประคบสมุนไพร น้ำมันไพรและยาฟอกเข่า
- สอน/สาธิต วิธีการนวด บริเวณจุดที่มีอาการปวด
- สอน/สาธิต ท่าการบริหารร่างกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้พร้อมทั้งสอน/สาธิตขั้นตอนการทำลูกประคบสมุนไพร น้ำมันไพรและยาฟอกเข่า พร้อมทั้งสอนวิธีการนวด ท่าการบริหารร่างกาย กลุ่มเป้าหมายที่เข้าอบรมประชาชนกลุ่มเสี่ยงจำนวน 50 คน ตัวชี้วัดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวโรคข้อและกระดูก ประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรมประเมินผลก่อนการอบรม พบว่า ผู้เข้าอบรมมีความรู้ร้อยละ 70 และหลังการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมมีระดับความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 88 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจ และความสำคัญในการจัดกิจกรรม

 

0 0

4. ติดตามผลกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ติดตามอาการกลุ่มเป้าหมาย เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 ครั้ง

  2. ประเมินอาการโดยใช้แบบประเมินระดับคะแนนการปวด แล้วบันทึกผล

  3. การลงพื้นที่เยี่ยมติดตามอาการผู้ป่วย โดยแกนนำอาสาสมัครสาธรณสุขและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข พร้อมทั้งให้คำแนะนำเบื้องต้น

  4. กรณีที่พบกลุ่มเป้าหมายที่มีอาการปวดระดับ 10 มีอาการปวดรุนแรง ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งต่อให้แพทย์แผนไทย ตรวจวินิจฉัยและทำการรักษา

  5. ประชุมคณะทำงานสรุปผลการติดตาม จำนวน 3 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การติดตามกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คน ติดตามเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 ครั้ง ประเมินโดยใช้แบบประเมินระดับคะแนนการปวด ผลการติดตามจำนวน 3 ครั้ง พบว่าว่าจากเดิมกลุ่มเป้าหมายมีระดับคะแนนการปวด 4-5 จำนวน 28 คนและระดับคะแนนการปวด 6-7 จำนวน 22 คน ได้ติดตามผลครั้งที่ 1 กลุ่มเป้าหมายยังคงมีอาการเหมือนเดิม ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 กลุ่มเป้าหมายมีอาการปวดลดลงจากระดับการปวด 6-7 ลดลงมาระดับการปวด 4-5 และ 1-3 จากการสอบถามอาการเบื้องต้นบางรายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง เช่น ออกกำลังกาย เพื่อให้อาการปวดเมื่อยลดลงมาบาง เลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ส่วนการประกอบอาชีพในบางรายไม่สามารถที่จะหยุดทำงานได้ เมื่อมีการปวดก็กินยาหรือประคบสมุนไพรเบื้องต้น จะเห็นได้ว่าอาการปวดของกลุ่มเป้าหมายไม่ได้ลดลงตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ เนื่องจากบางคนต้องประกอบอาชีพ อายุที่เพิ่มขึ้น และอาการปวดเหล่านี้ต้องใช้ระยะเวลาในการรักษาถึงได้หายได้

 

0 0

5. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 24 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. รายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

  2. จัดทำรายงานผลโครงการเสนอกองทุนตำบลอย่างน้อย 2 เล่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปเล่มโครงการฉบับสมบูรณ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 ตรวจคัดกรองประชาชนทั่วไปอายุระหว่าง 40-60 ปี

ดำเนินการตรวจคัดกรองประชาชนทั่วไปอายุระหว่าง 40-60 ปี โดยคัดกรองอาการโดยใช้แบบประเมินระดับคะแนนการปวด 5 ระดับ ได้แก่

ระดับ 0  หมายถึง ไม่มีอาการปวดเลย
ระดับ 1 – 3 หมายถึง มีอาการปวดเล็กน้อยไม่มีความกังกล ไม่มีความทุกข์ทรมานแต่อย่างใด
ระดับ 4 – 5 หมายถึง มีอาการปวดปานกลาง ความรู้สึกทรมานจากอาการปวดพอสมควร แต่ยัง สามารถทนได้
ระดับ 6 – 7 หมายถึง มีอาการปวดมาก มีความกังวล พักผ่อนได้ไม่เพียงพอ เริ่มทีความรู้สึกว่าไม่สามารถทนได้
ระดับ 8 – 9 หมายถึง มีอาการปวดรุนแรงรู้สึกทรมานจาการอาการปวดมากไม่สามารถนอนหลับพักผ่อนได้
ระดับ 10  หมายถึง มีอาการปวดรุนแรงจนไม่สามารถทนได้


คัดเลือกกลุ่มที่มีความเสี่ยงที่มีอาการปวดเข่า ที่มีระดับคะแนนการปวด 4 – 10 คะแนน นำร่องจำนวน 50 คน ผลการตรวจคัดกรองเบื้องต้นพบว่า ระดับคะแนนการปวดจำนวนมากที่สุด ระดับ 4-5 คิดเป็นร้อยละ 56.00 รองลงมาระดับระดับ 6-7 คิดเป็นร้อยละ 44.00 ตามลำดับ ดังตารางที่ 1 และช่วงอายุที่มีอาการปวดมากที่สุด 41-50 ปี จำนวน 19 คน รองลงมา 51-60 ปี จำนวน 15 คน และช่วงอายุ 30-40 ปี จำนวน 9 คน ดังตารางที่ 2


ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของระดับคะแนนการปวด จำนวน 50 คน
ระดับคะแนนการปวด 4 - 5 คะแนน จำนวน 28 ร้อยละ 56.00

ระดับคะแนนการปวด 6 - 7 คะแนน จำนวน 22 ร้อยละ 44.00

ระดับคะแนนการปวด 8  คะแนน จำนวน - ร้อยละ -

ระดับคะแนนการปวด 9  คะแนน จำนวน - ร้อยละ -

ระดับคะแนนการปวด 10 คะแนน จำนวน - ร้อยละ -


ตารางที่ 2 จำนวนช่วงอายุที่ตรวจคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม จำนวน 50 คน

ช่วงอายุ 30-40 ปี จำนวน 9 คน

ช่วงอายุ 41-50 ปี จำนวน 19 คน

ช่วงอายุ 51-60 ปี จำนวน 15 คน

ช่วงอายุ 61-70 ปี จำนวน 4 คน


จากตารางข้างต้น ระดับคะแนนการปวดมากที่สุดระดับ 4-5 มีอาการปวดปานกลาง ความรู้สึกทรมานจากอาการปวดพอสมควร แต่ยังสามารถทนได้ จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 56.00 อาการปวดเหล่านี้ ส่วนใหญ่อายุอยู่ในช่วง 41-60 ปี ซึ่งอาการของแต่ละคนระดับการปวดก็มีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการประกอบอาชีพ อายุ เมื่ออายุมากขึ้นก็ส่งผลกับการปวดที่เพิ่มขึ้น บางคนก็ไม่ได้เข้าถึงการรักษาเท่าที่ควร แค่บรรเทาอาการปวดเบื้องต้น รวมทั้งน้ำหนักตัวก็เป็นส่วนหนึ่งที่ส่งผลต่ออาการปวดเข่า


กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อและกระดูกและการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาโรคเบื้องต้น

การจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้พร้อมทั้งสอน/สาธิตขั้นตอนการทำลูกประคบสมุนไพร น้ำมันไพรและยาฟอกเข่า พร้อมทั้งสอนวิธีการนวด ท่าการบริหารร่างกาย กลุ่มเป้าหมายที่เข้าอบรมประชาชนกลุ่มเสี่ยงจำนวน 50 คน ตัวชี้วัดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวโรคข้อและกระดูก ประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรมประเมินผลก่อนการอบรม พบว่า ผู้เข้าอบรมมีความรู้ร้อยละ 70 และหลังการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมมีระดับความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 88 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจ และความสำคัญในการจัดกิจกรรม


กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมการปลูกสมุนไพรในชุมชน

ตัวชี้วัดกิจกรรมประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 นำพืชสมุนไพรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ผู้จัดทำโครงการรณรงค์ให้ครัวเรือนในชุมชนปลูกสมุนไพรต่างๆ ทั้งที่ใช้เป็นยารักษาโรคเบื้องต้นและประกอบอาหาร เพราะสมุนไพรบางชนิดมีสรรพคุณเป็นยารักษาโรค ประชาชนส่วนหนึ่งบางครัวเรือนก็ปลูกสมุนไพรกันอยู่แล้ว ร้อยละ 20 หลังจากมีการรณรงค์ให้ครัวเรือนปลูกพืชสมุนไพร พบว่าครัวเรือนปลูกสมุนไพรเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 60 และจากการสอบถามเหตุผลในการปลูกสมุนไพร ส่วนใหญ่นำมาประกอบอาหาร เพราะเห็นว่าสมุนไพรบางชนิดมีสรรพคุณในการรักษาโรค ถ้ารับประทานน่าจะส่งผลที่ดีกับร่างกาย


กิจกรรมที่ 4 ติดตามผลกลุ่มเป้าหมาย การติดตามกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คน ติดตามเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 ครั้ง ประเมินโดยใช้แบบประเมินระดับคะแนนการปวด ผลการติดตามจำนวน 3 ครั้ง พบว่าจากเดิมกลุ่มเป้าหมายมีระดับคะแนนการปวด 4-5 จำนวน 28 คนและระดับคะแนนการปวด 6-7 จำนวน 22 คน ได้ติดตามผลครั้งที่ 1 กลุ่มเป้าหมายยังคงมีอาการเหมือนเดิม ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 กลุ่มเป้าหมายมีอาการปวดลดลงจากระดับการปวด 6-7 ลดลงมาระดับการปวด 4-5 และ 1-3 จากการสอบถามอาการเบื้องต้นบางรายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง เช่น ออกกำลังกาย เพื่อให้อาการปวดเมื่อยลดลงมาบาง เลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ส่วนการประกอบอาชีพในบางรายไม่สามารถที่จะหยุดทำงานได้ เมื่อมีการปวดก็กินยาหรือประคบสมุนไพรเบื้องต้น จะเห็นได้ว่าอาการปวดของกลุ่มเป้าหมายไม่ได้ลดลงตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ เนื่องจากบางคนต้องประกอบอาชีพ อายุที่เพิ่มขึ้น และอาการปวดเหล่านี้ต้องใช้ระยะเวลาในการรักษาถึงได้หายได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพของประชาชน โดยการใช้สมุนไพรไทยในการรักษาและลดอาการข้อเข่าเสื่อม
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนที่มีอายุ 40-60 ปี ในพื้นที่หมู่ที่ 10 ได้รับการตรวจคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม ร้อยละ 100 2. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวโรคข้อและกระดูก 3. กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 มีอัตราการปวดเข่าลดลง 4. กลุ่มเป้าหมายที่มีอาการปวดรุนแรง ได้รับการส่งต่อและรักษาทุกราย
0.00 80.00

 

2 เพื่อลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการรักษาโรคด้วยยาแผนปัจจุบัน
ตัวชี้วัด : 1. ปริมาณการใช้ยาแผนปัจจุบันลดลง 2. ประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 นำพืชสมุนไพรมาใช้ให้เกิดประโยชน์
0.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะทำงาน 10 10

บทคัดย่อ*

อาการปวดเข่าเป็นอาการที่พบได้บ่อยซึ่งเกิดตามการเปลี่ยนแปลงของวัยที่เพิ่มขึ้น ปัญหาการปวดเข่าเกิด จากหลายสาเหตุ เช่น จากการทำงาน มีการบาดเจ็บที่เข่า ข้อเข่าอักเสบ ข้อเข่าเสื่อม น้ำหนักตัวมากเกินไป อายุที่เพิ่มขึ้นตามสภาพของร่างกาย เป็นต้น ปวดเข่ามักจะเป็นสาเหตุของอาการปวดที่พบได้มากในกลุ่มของผู้สูงอายุและอาจจะมีในกลุ่มของประชาชนทั่วไป โดยการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1.) เพื่อส่งเสริมสุขภาพของประชาชน โดยการใช้สมุนไพรไทยในการรักษาและลดอาการข้อเข่าเสื่อม 2.) เพื่อลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการรักษาโรคด้วยยาแผนปัจจุบัน ผลการดำเนินงาน พบว่า


กิจกรรมตรวจคัดกรองประชาชนทั่วไปอายุระหว่าง 40-60 ปี

ตัวชี้วัดกิจกรรม ประชาชนที่มีอายุ 40-60 ปี ในพื้นที่หมู่ที่ 10 ได้รับการตรวจคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม ร้อยละ 100 โดยใช้แบบประเมินระดับคะแนนการปวด ผลการตรวจคัดกรองเบื้องต้นพบว่า ระดับคะแนนการปวดจำนวนมากที่สุด ระดับ 4-5 คิดเป็นร้อยละ 56.00 รองลงมาระดับระดับ 6-7 คิดเป็นร้อยละ 44.00 ตามลำดับ และช่วงอายุที่มีอาการปวดมากที่สุด 41-50 ปี จำนวน 19 คน รองลงมา 51-60 ปี จำนวน 15 คน และช่วงอายุ 30-40 ปี จำนวน 9 คน


กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อและกระดูกและการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาโรคเบื้องต้น

การจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้พร้อมทั้งสอน/สาธิตขั้นตอนการทำลูกประคบสมุนไพร น้ำมันไพรและ ยาฟอกเข่า พร้อมทั้งสอนวิธีการนวด ท่าการบริหารร่างกาย กลุ่มเป้าหมายที่เข้าอบรมประชาชนกลุ่มเสี่ยงจำนวน 50 คน ตัวชี้วัดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวโรคข้อและกระดูก ประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรมประเมินผลก่อนการอบรม พบว่า ผู้เข้าอบรมมีความรู้ร้อยละ 70 และหลังการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมมีระดับความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 88 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจ และความสำคัญในการจัดกิจกรรม


กิจกรรมส่งเสริมการปลูกสมุนไพรในชุมชน

ตัวชี้วัดกิจกรรมประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 นำพืชสมุนไพรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ผู้จัดทำโครงการรณรงค์ให้ครัวเรือนในชุมชนปลูกสมุนไพรต่างๆ ทั้งที่ใช้เป็นยารักษาโรคเบื้องต้นและประกอบอาหาร เพราะสมุนไพรบางชนิดมีสรรพคุณเป็นยารักษาโรค ประชาชนส่วนหนึ่งบางครัวเรือนก็ปลูกสมุนไพรกันอยู่แล้ว ร้อยละ 20 หลังจากมีการรณรงค์ให้ครัวเรือนปลูกพืชสมุนไพร พบว่าครัวเรือนปลูกสมุนไพรเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 60 และจากการสอบถามเหตุผลในการปลูกสมุนไพร ส่วนใหญ่นำมาประกอบอาหาร เพราะเห็นว่าสมุนไพรบางชนิดมีสรรพคุณในการรักษาโรค ถ้ารับประทานน่าจะส่งผลที่ดีกับร่างกาย


กิจกรรมติดตามผลกลุ่มเป้าหมาย

จากเดิมกลุ่มเป้าหมายมีระดับคะแนนการปวด 4-5 จำนวน 28 คนและระดับคะแนนการปวด 6-7 จำนวน 22 คน ได้ติดตามผลครั้งที่ 1 กลุ่มเป้าหมายยังคงมีอาการเหมือนเดิม ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 กลุ่มเป้าหมายมีอาการปวดลดลงจากระดับการปวด 6-7 ลดลงมาระดับการปวด 4-5 และ 1-3 จากการสอบถามอาการเบื้องต้นบางรายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง เช่น ออกกำลังกาย เพื่อให้อาการปวดเมื่อยลดลงมาบาง เลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ส่วนการประกอบอาชีพในบางรายไม่สามารถที่จะหยุดทำงานได้ เมื่อมีการปวดก็กินยาหรือประคบสมุนไพรเบื้องต้น จะเห็นได้ว่าอาการปวดของกลุ่มเป้าหมายไม่ได้ลดลงตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ เนื่องจากบางคนต้องประกอบอาชีพ อายุที่เพิ่มขึ้น และอาการปวดเหล่านี้ต้องใช้ระยะเวลาในการรักษาถึงได้หายได้

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. ผู้จัดทำโครงการขาดการวางแผนการดำเนินกิจกรรม ทำให้การดำเนินกิจกรรมล่าช้า ไม่เป็นไปตามเวลาที่กำหนด

  2. อาการปวดเข่าต้องใช้ระยะเวลาในการรักษา ซึ่งการดำเนินโครงการไม่ได้เป็นไปตามตัวชี้วัด เนื่องจากระยะเวลาในการติดตามกลุ่มเป้าหมายจำนวนน้อยเกินไป

  1. วางแผนการดำเนินโครงการตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ เพื่อให้ระยะเวลาการดำเนินงานโครงการเป็นไปตามที่กำหนด
  1. มีการดำเนินกิจกรรมอื่นร่วม เพื่อส่งเสริมและลดอาการปวดเข่าของประชาชนในชุมชน

ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยสมุนไพรไทย

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 2 - 03 ระยะเวลาโครงการ 25 กุมภาพันธ์ 2563 - 25 กุมภาพันธ์ 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยสมุนไพรไทย จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 2 - 03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 10 บ้านปากปิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด