กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัว ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัว

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 2 - 07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 25 กุมภาพันธ์ 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัว จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัว



บทคัดย่อ

โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัวโรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบ

วัตถุประสงค์

๑. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้กับนักเรียนและผู้ปกครองเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปาก การป้องกันโรคและการป้องกันอุบัติเหตุ

๒. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพในช่องปากที่ดีขึ้นและได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี

๓. เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียนและครู จากโรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ และโรคไข้เลือดออก

๔. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สร้างความสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมระหว่างสถาบันโรงเรียนกับครอบครัว

กิจกรรมดำเนินการ ดังนี้

กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง

กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมฟันดีมีสุข

กิจกรรมที่ ๓ กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรค

กิจกรรมที่ ๔ กิจกรรมใช้ถนนอย่างปลอดภัย ร่วมใจกัน ป้องกันอุบัติเหตุ

กิจกรรมที่ ๕ กิจกรรมส่งเสริมกีฬาสร้างความสัมพันธ์

สรุปผลการประเมิน

สภาพความเป็นอยู่ในสังคมของมนุษย์ตามภาวะเศรษฐกิจ การหาเลี้ยงชีพในครอบครัว ย่อมกระทบต่อการดำเนินชีวิต ปัญหาสุขภาพในช่องปาก ปัญหาโรคติดต่อ โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ และโรคไข้เลือดออก ปัญหาการเกิดอุบัติเหตุ การใช้ถนน การใช้หมวกนิรภัย หากขาดความรู้ความเข้าใจ ขาดประสบการณ์ ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อร่างกายและทรัพย์สินได้ โรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบเป็นสถานที่จัดการศึกษาเป็นแหล่งผลิตความรู้ ฝึกประสบการณ์ ให้กับนักเรียน และได้ขอสนับสนุนโครงการดังกล่าวตามกิจกรรมที่ระบุไว้ และได้ดำเนินการตามโครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัวโดยการดำเนินการตามกิจกรรมดังต่อไปนี้

กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้นักเรียนและผู้ปกครอง เกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก เช่น การดูแลสุขภาพเหงือกและฟัน การรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ การควบคุม การป้องกัน โรคติดต่อ โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคไข้เลือดออก เป็นต้น การป้องกันอุบัติเหตุ การให้ความรู้เกี่ยวกับกฎจราจร สัญญาณไฟ และการให้การปฐมพยาบาลเป็นต้น ด้วยหลักสูตรที่เหมาะสมกับเด็กระดับประถมศึกษา จากการสังเกตสรุปได้ว่านักเรียนและผู้ปกครอง ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ซึ่งจากผลการทดสอบก่อนเข้าอบรมมีคะแนนเฉลี่ย 71.20 หลังจากการอบรม มีคะแนนเฉลี่ย 81.60 แสดงว่าการอบรมครั้งนี้ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น

กิจกรรมที่ ๒ ฟันดีมีสุข ครูประจำชั้นคัดเลือกแกนนำนักเรียนแต่ละชั้นเรียน ห้องละ 2 คน รณรงค์ให้เด็กนักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน โดยมีนักเรียนแกนนำเป็นผู้กำกับดูแลการแปรงฟันและมีเพลงประกอบขณะที่แปรงฟัน แกนนำนักเรียนตรวจสอบความสะอาดหลังแปรงฟัน พร้อมบันทึกผล กรณีเด็กฟันผุให้แกนนำนักเรียนรายงานผลให้ครูประจำชั้นทราบ และแจ้งผลให้ผู้ปกครองทราบ ส่งตัวรักษาที่ถูกต้องต่อไป

กิจกรรมที่ ๓ รณรงค์ป้องกันโรค นักเรียนและครูเดินรณรงค์ ป้องกันโรคภัยต่างๆ และหลักการการจัดการขยะตามหลักสุขาภิบาล พร้อมทั้งรณรงค์การป้องกันโรคไข้เลือดออก วิธีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน การจัดกิจกรรมการทำความสะอาดบริเวณโรงเรียนและห้องน้ำ อย่างน้อยเตือนละ ๑ ครั้งกรณีเด็กป่วยที่มีอาการคล้ายสงสัยว่าเป็นไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคไข้เลือดออก และโรคในสถานการณ์ปัจจุบัน โรงเรียนดำเนินการแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโดยเร็วเพื่อดำเนินการแก้ไขและสอบสวนโรคต่อไป

กิจกรรมที่ ๔ ใช้ถนนอย่างปลอดภัย ร่วมใจกันป้องกันอุบัติเหตุประชุมคณะครูและกรรมการสถานศึกษา ปรึกษาหารือเกี่ยวกับการใช้มาตรการในโรงเรียนกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย การจัดทำป้ายจราจร การใช้รถช้ถนนภายในโรงเรียน รณรงค์ให้นักเรียนชับขี่รถโดยสวมหมวกนิรภัย เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ

กิจกรรมที่ ๔ ส่งเสริมกีฬาสร้างความสัมพันธ์ประชุมคณะครูและกรรมการสถานศึกษา เพื่อกำหนดกิจกรรมกีฬาสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ประชุมผู้ปกครองนักเรียน เพื่อขี้แจงวัตถุประสงค์ในการดำเนินการจัดกิจกรรมและแบ่งกลุ่มเพื่อร่วมกิจกรรม กำหนดวันจัดกิจกรรม ดำเนินการในกิจกรรมตามโครงการ จัดกิจกรรมตามโครงการ นักเรียนและผู้ปกครองร่วมกันรับประทานอาหารโดยผู้ปกครองนักเรียนนำอาหารมาจากครัวเรือน มารับประทานร่วมกัน

ผลสรุปจากการดำเนินการตามโครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัว นักเรียน และผู้ปกครอง ได้ร่วมกิจกรรมดังกล่าว คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมในปัจจุบัน มีความเจริญทางด้านวัตถุ และเทคโนโลยี ประกอบกับปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ ทำให้การดำรงชีพในครอบครัวต้องแข่งขัน รายได้ กับรายจ่าย ก่อให้เกิดปัญหา แล้วยังส่งผลต่อการดำรงชีวิต ปัญหาสุขภาพ เป็นปัญหาหนึ่ง ที่ก่อให้เกิดการบั่นทอนต่อการทำงาน การเกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุ ซึ่งเป็นกิจอย่างหนึ่งที่ส่งผลต่อเด็กที่กำลังเจริญเติบโตที่จะส่งผลให้การเรียนรู้และพัฒนาการของเด็กที่กำลังเจริญก้าวไกล ทำให้ช้าลง

จากการสำรวจปัญหาสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบ พบปัญหาเกี่ยวกับโรคโรคฟันผุ โรคปริทันต์ จำนวน 53 คน คิดเป็น ร้อยละ 41.41 สาเหตุจากการที่นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ใส่ใจเรื่องสุขภาพช่องปาก ขาดความรู้และไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมา และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ไม่แปรงฟันก่อนนอน พร้อมทั้งผู้ปกครองไม่ได้ตระหนักถึงปัญหานี้เท่าที่ควร ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพเด็กเป็นอย่างมาก และพื้นที่โรงเรียนบ้านควานฟ้าแลบ ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 บ้านปลักมาลัย ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล มีเขตบริการนักเรียนดังนี้ คือ หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 9 ในสภาพพื้นที่ดังกล่าว ซึ่งมีโอกาสที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุสูง พบอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในโรงเรียนและชุมชนร้อยละ 30 นักเรียนส่วนหนึ่งนำรถจักรยานในการเดินมาโรงเรียน และนักเรียนยังขาดความรู้เกี่ยวกับการใช้รถบนท้องถนน ไม่ระมัดระวังในการใช้รถ ขับรถด้วยความประมาท ซึ่งส่งผลกระทบให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นบ่อยครั้ง นักเรียนและผู้ปกครองขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องกฎจราจร ความประมาท เนื่องจากโรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบเชื่อมต่อถนนสายหลัก ระหว่างชุมชน ซึ่งย่อมจะก่อให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นได้ ดังนั้นถ้านักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการใช้รถ การสวมหมวกนิรภัย การไม่ประมาท ย่อมจะลดภาวะความเสี่ยงเรื่องอุบัติเหตุได้ ปัญหาที่พบอีกอย่างหนึ่งในชุมชนเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่ ร้อยละ 20 ไข้เลือดออก ปี 2560 – 2562 พบผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน 2, 12 และ 21 คน อัตราป่วยต่อแสนประชากร 1327.43, 758.53 และ 131.75 ตามลำดับ ส่งผลกระทบต่อครอบครัวและสุขภาพของนักเรียน ถ้านักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ส่วนหนึ่งก็สามารถป้องกันตนเองได้ นอกจากการส่งเสริมเรื่องสุขภาพของนักเรียนแล้ว กิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและการรู้จักการออกกำลังกาย การเล่นกีฬา เป็นส่วนหนึ่งที่มีส่วนทำให้สุขภาพแข็งแรง ลดความเครียด สร้างภูมิคุ้มกันโรค สุขภาพแข็งแรงทั้งยังร่วมกิจกรรมทางสังคมได้ดี การทำกิจกรรมร่วมกันเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ปกครองและนักเรียน ซึ่งส่งผลที่ดีกับสุขภาพของนักเรียนเป็นอย่างมาก

โรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัว เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของนักเรียน ให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก การป้องกันโรค การป้องกันอุบัติเหตุ และส่งเสริมสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวและโรงเรียนโดยการทำกิจกรรมร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้กับนักเรียนและผู้ปกครองเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปาก การป้องกันโรคและการป้องกันอุบัติเหตุ
  2. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพในช่องปากที่ดีขึ้นและได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี
  3. เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียน และครูด้วยโรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ และโรคไข้เลือดออก
  4. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สร้างความสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมระหว่างสถาบันโรงเรียนกับครอบครัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้นักเรียน
  2. รณรงค์ป้องกันโรค
  3. อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง
  4. ใช้ถนนปลอดภัย ร่วมใจ ป้องกันอุบัติเหตุ
  5. กีฬาสร้างความสัมพันธ์
  6. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 128
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครู 15
ผู้ปกครอง 120

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากการป้องกันโรคติดต่อ และการป้องกันอุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนน
  2. นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากลดลง และได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี
  3. อัตรากาป่วยด้วยโรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ และโรคไข้เลือดออดลดลง
  4. นักเรียนสวมหมวกนิรภัยเพิ่มขึ้นและอุบัติเหตุภายในโรงเรียนและชุมชนลดลง
  5. นักเรียนและผู้ปกครอง ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันโรงเรียนและครอบครัว

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง

วันที่ 29 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.1 สุขภาพในช่องปาก เช่น การดูแลสุขภาพเหงือกและฟัน การรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ

1.2 การควบคุม การป้องกัน โรคติดต่อ โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคไข้เลือดออก เป็นต้น

1.3 การป้องกันอุบัติเหตุ การให้ความรู้เกี่ยวกับกฎจราจร สัญญาณไฟ และการให้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ด้วยหลักสูตรที่เหมาะสมกับเด็กระดับประถมศึกษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน ผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพช่องปาก การควบคุม ป้องกัน โรคติดต่อ หลังการอบรม การเกิดอุบัติเหตุ และการให้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น จากผลการทดสอบก่อนเข้าอบรมมีคะแนนเฉลี่ย 71.20 หลังจากการอบรม มีคะแนนเฉลี่ย 81.60 แสดงว่าการอบรมครั้งนี้ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น

 

0 0

2. ส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้นักเรียน

วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ครูประจำชั้นคัดเลือกแกนนำนักเรียนแต่ละชั้นเรียน ห้องเรียนละ 2 คน
  2. รณรงค์ให้เด็กนักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน
  3. แกนนำตรวจสอบการแปรงฟันหลังอาหาร พร้อมบันทึกผล
  4. กรณีเด็กฟันผุ ให้แกนนำนักเรียนรายงานผลครูเพื่อทราบ แจ้งผลให้ผู้ปกครองทราบ และส่งต่อรักษาที่โรงพยาบาล
  5. ห้องเรียนแต่ละชั้นมุมส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 90 ของนักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยทันตแพทย์ พบนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปาก นักเรียนฟันผุ ร้อยละ 35.11 และ ร้อยละ 100 ของนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับการแก้ไขและส่งต่อรับการรักษาที่ถูกวิธีที่โรงพยาบาล

 

0 0

3. ใช้ถนนปลอดภัย ร่วมใจ ป้องกันอุบัติเหตุ

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะครูและกรรมการสถานศึกษา ปรึกษาหารือเกี่ยวกับ การใช้มาตรการในโรงเรียนเกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย การจัดทำป้ายจราจร การใช้รถใช้ถนนภายในโรงเรียน

  2. รณรงค์ให้นักเรียนขับขี่รถโดยสวมหมวกนิรภัย เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนและผู้ปกครองมีความตระหนักในการใช้รถ ใช้ถนนอย่างปลอดภัย และร้อยละ 80 ของผู้ปกครองมีการสวมหมวกนิรภัยและคาดเข็มขัดนิรภัย เพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางจราจรจากการมาส่งนักเรียนมาโรงเรียนและมารับนักเรียนจากโรงเรียนโดยยานพาหนะส่วนบุคคล

 

0 0

4. ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย กีฬาสร้างความสัมพันธ์

วันที่ 9 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะครูและกรรมการสถานศึกษา เพื่อกำหนดกิจกรรมกีฬาสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครู นักเรียน  ผู้ปกครองนักเรียน
  2. ประชุมผู้ปกครองนักเรียน เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ในการดำเนินการจัดกิจกรรม และ แบ่งกลุ่มเพื่อร่วมกิจกรรม
  3. กำหนดวันจัดกิจกรรมในการดำเนินการในกิจกรรมตามโครงการ
  4. จัดกิจกรรมตามโครงการ นักเรียนและผู้ปกครองร่วมกันรับประทานอาหารโดยผู้ปกครองนักเรียนนำอาหารมาจากครัวเรือน มารับประทานร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดการแข่งขันกีฬาสร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน ผู้ปกครองและคณะครู ได้แก่ กีฬาฟุตบอล วอลเลย์บอล และกีฬาพื้นบ้าน จากการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม พบว่า ร้อยละ 98 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจและมีข้อเสนอแนะให้มีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและครอบครัว

 

0 0

5. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.รายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

2.จัดทำรายงานผลโครงการเสนอกองทุนตำบลอย่างน้อย 2 เล่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์

 

0 0

6. รณรงค์ป้องกันโรค

วันที่ 1 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. นักเรียนและครูเดินรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อ ราไข้หวัด  ไข้หวัดใหญ่ โรคไข้เลือดออก โดยการจัดกิจกรรมให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล พร้อมการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงที่ก่อให้เกิดโรคในชุมชน
  2. จัดกิจกรรมการทำความสะอาดบริเวณโรงเรียนและห้องน้ำ อย่างน้อยเดือนละครั้ง
  3. กรณีที่พบนักเรียนป่วย หรือมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกโรงเรียนดำเนินการแจ้งสาธารณสุขโดยเร็วเพื่อดำเนินการป้องกันและสอบสวนโรคต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ครู นักเรียน และผู้ปกครองปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษาของโรงเรียนอย่างเคร่งครัด ส่งผลให้ครู นักเรียน และผู้ปกครอง

  • ครู นักเรียน และผู้ปกครอง มีอัตราการป่วยจากโรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ และโรคไข้เลือดออกลดลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้กับนักเรียนและผู้ปกครองเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปาก การป้องกันโรคและการป้องกันอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ80ของนักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากเพิ่มขึ้น 2. ร้อยละ80ของนักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุเพิ่มขึ้น 3. ร้อยละ90ของผู้ปกครองมีการสวมหมวกกันน็อกและเข็มขัดนิรภัยเพื่อการป้องกันอุบัติเหตุทางจราจรจากการนำนักเรียนมาโรงเรียนโดยยานพาหนะส่วนบุคคล
0.00 81.60

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพในช่องปากที่ดีขึ้นและได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของนักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพในช่องปากโดยทันตแพทย์หรือบุคลากรเกี่ยวกับทันตกรรมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2. ร้อยละ 100 ของนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากได้รับการแก้ไข และส่งต่อไปรับการรักษาที่ถูกวิธีกับผู้เชี่ยวชาญของทันตแพทย์
0.00 90.00

 

3 เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียน และครูด้วยโรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ และโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 1. อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ และโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลง - โรคไข้เลือดออกลดลง ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร - โรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ลดลงจากเดิมอย่างน้อย ร้อยละ 50
0.00 50.00

 

4 เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สร้างความสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมระหว่างสถาบันโรงเรียนกับครอบครัว
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของผู้ปกครอง มีการเข้าร่วมกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง นักเรียน ครู และผู้ปกครอง 2.นักเรียน ครู และผู้ปกครอง ได้ร่วมกันกำหนดมาตรในการดูแลสุขภาพ การป้องกันโรค และการป้องกันอุบติเหตุทางด้านการจราจร อย่างน้อย 5 มาตรการ 3. ร้อยละ 90 ของนักเรียน และครูร่วมกันออกกำลังกายหรือกิจกรรมทางกาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที
0.00 98.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 263 263
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 128 128
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครู 15 15
ผู้ปกครอง 120 120

บทคัดย่อ*

โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัวโรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบ

วัตถุประสงค์

๑. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้กับนักเรียนและผู้ปกครองเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปาก การป้องกันโรคและการป้องกันอุบัติเหตุ

๒. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพในช่องปากที่ดีขึ้นและได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี

๓. เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียนและครู จากโรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ และโรคไข้เลือดออก

๔. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สร้างความสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมระหว่างสถาบันโรงเรียนกับครอบครัว

กิจกรรมดำเนินการ ดังนี้

กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง

กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมฟันดีมีสุข

กิจกรรมที่ ๓ กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรค

กิจกรรมที่ ๔ กิจกรรมใช้ถนนอย่างปลอดภัย ร่วมใจกัน ป้องกันอุบัติเหตุ

กิจกรรมที่ ๕ กิจกรรมส่งเสริมกีฬาสร้างความสัมพันธ์

สรุปผลการประเมิน

สภาพความเป็นอยู่ในสังคมของมนุษย์ตามภาวะเศรษฐกิจ การหาเลี้ยงชีพในครอบครัว ย่อมกระทบต่อการดำเนินชีวิต ปัญหาสุขภาพในช่องปาก ปัญหาโรคติดต่อ โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ และโรคไข้เลือดออก ปัญหาการเกิดอุบัติเหตุ การใช้ถนน การใช้หมวกนิรภัย หากขาดความรู้ความเข้าใจ ขาดประสบการณ์ ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อร่างกายและทรัพย์สินได้ โรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบเป็นสถานที่จัดการศึกษาเป็นแหล่งผลิตความรู้ ฝึกประสบการณ์ ให้กับนักเรียน และได้ขอสนับสนุนโครงการดังกล่าวตามกิจกรรมที่ระบุไว้ และได้ดำเนินการตามโครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัวโดยการดำเนินการตามกิจกรรมดังต่อไปนี้

กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้นักเรียนและผู้ปกครอง เกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก เช่น การดูแลสุขภาพเหงือกและฟัน การรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ การควบคุม การป้องกัน โรคติดต่อ โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคไข้เลือดออก เป็นต้น การป้องกันอุบัติเหตุ การให้ความรู้เกี่ยวกับกฎจราจร สัญญาณไฟ และการให้การปฐมพยาบาลเป็นต้น ด้วยหลักสูตรที่เหมาะสมกับเด็กระดับประถมศึกษา จากการสังเกตสรุปได้ว่านักเรียนและผู้ปกครอง ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ซึ่งจากผลการทดสอบก่อนเข้าอบรมมีคะแนนเฉลี่ย 71.20 หลังจากการอบรม มีคะแนนเฉลี่ย 81.60 แสดงว่าการอบรมครั้งนี้ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น

กิจกรรมที่ ๒ ฟันดีมีสุข ครูประจำชั้นคัดเลือกแกนนำนักเรียนแต่ละชั้นเรียน ห้องละ 2 คน รณรงค์ให้เด็กนักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน โดยมีนักเรียนแกนนำเป็นผู้กำกับดูแลการแปรงฟันและมีเพลงประกอบขณะที่แปรงฟัน แกนนำนักเรียนตรวจสอบความสะอาดหลังแปรงฟัน พร้อมบันทึกผล กรณีเด็กฟันผุให้แกนนำนักเรียนรายงานผลให้ครูประจำชั้นทราบ และแจ้งผลให้ผู้ปกครองทราบ ส่งตัวรักษาที่ถูกต้องต่อไป

กิจกรรมที่ ๓ รณรงค์ป้องกันโรค นักเรียนและครูเดินรณรงค์ ป้องกันโรคภัยต่างๆ และหลักการการจัดการขยะตามหลักสุขาภิบาล พร้อมทั้งรณรงค์การป้องกันโรคไข้เลือดออก วิธีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน การจัดกิจกรรมการทำความสะอาดบริเวณโรงเรียนและห้องน้ำ อย่างน้อยเตือนละ ๑ ครั้งกรณีเด็กป่วยที่มีอาการคล้ายสงสัยว่าเป็นไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคไข้เลือดออก และโรคในสถานการณ์ปัจจุบัน โรงเรียนดำเนินการแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโดยเร็วเพื่อดำเนินการแก้ไขและสอบสวนโรคต่อไป

กิจกรรมที่ ๔ ใช้ถนนอย่างปลอดภัย ร่วมใจกันป้องกันอุบัติเหตุประชุมคณะครูและกรรมการสถานศึกษา ปรึกษาหารือเกี่ยวกับการใช้มาตรการในโรงเรียนกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย การจัดทำป้ายจราจร การใช้รถช้ถนนภายในโรงเรียน รณรงค์ให้นักเรียนชับขี่รถโดยสวมหมวกนิรภัย เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ

กิจกรรมที่ ๔ ส่งเสริมกีฬาสร้างความสัมพันธ์ประชุมคณะครูและกรรมการสถานศึกษา เพื่อกำหนดกิจกรรมกีฬาสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ประชุมผู้ปกครองนักเรียน เพื่อขี้แจงวัตถุประสงค์ในการดำเนินการจัดกิจกรรมและแบ่งกลุ่มเพื่อร่วมกิจกรรม กำหนดวันจัดกิจกรรม ดำเนินการในกิจกรรมตามโครงการ จัดกิจกรรมตามโครงการ นักเรียนและผู้ปกครองร่วมกันรับประทานอาหารโดยผู้ปกครองนักเรียนนำอาหารมาจากครัวเรือน มารับประทานร่วมกัน

ผลสรุปจากการดำเนินการตามโครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัว นักเรียน และผู้ปกครอง ได้ร่วมกิจกรรมดังกล่าว คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัว

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 2 - 07 ระยะเวลาโครงการ 25 กุมภาพันธ์ 2563 - 25 กุมภาพันธ์ 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัว จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 2 - 07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด