กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการปรับพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2563 ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอดุลย์ มูซอ

ชื่อโครงการ โครงการปรับพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2492-1-19 เลขที่ข้อตกลง 22/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2492-1-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,370.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อำเภอเมืองนราธิวาส พบว่า มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๑,๑๒๕ ราย คิดเป็นความชุกร้อยละ ๑.๓๕ และผู้ป่วยโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี มีเพียงร้อยละ ๒๗.๓๙ ส่วนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในเขตโคกเคียน มีจำนวน ๑,๔๑๐ ราย คิดเป็นร้อยละ๓๒.๙o ของประชากร (ที่มา:HDCสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส )ซึ่งผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควรได้รับการติดตามตรวจวัดความดันโลหิตที่บ้าน ต่อเนื่อง 6 เวลา เข้าและเย็น อย่างน้อย ๑ สัปดาห์ก่อนไปตามนัดรับยาที่โรงพยาบาล เพื่อตรวจหาวัดค่าระดับความดันโลหิตที่แท้จริง รวมทั้งกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงที่มีค่าระดับความดันโลหิต มากกว่า ๑๔๐/๙o mmHg ทุกรายควรได้รับการตรวจวัดความดันโลหิต เพื่อการเข้าถึงการวินิจฉัยที่ถูกต้อง เนื่องจากผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีสาเหตุหรือปัจจัยอื่นที่ทำให้เกิดความดันโลหิตสูง ไม่ได้ป่วยด้วยโรคความตันโลหิตสูงที่แท้จริง และที่ผ่านมา จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่มีจำนวนมาก กระจายอยู่ในทุกพื้นที่ของตำบลโคกเคียน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จะเป็นบุคลากรที่สำคัญในการขับเคลื่อนงานวัดความดันโลหิตในชุมชน จากการประเมินการให้เครื่องวัดความดัน โลหิต ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ชุมชนตำบลโคกเคียน ยังใช้ไม่ถูกขั้นตอนและยังไม่เคยรับการอบรมจากหลักสูตรที่ทั้งหมดตำบลครบถ้วนและได้สำรวจเครื่องวัดความดันโลหิตที่ใช้ในชุมชน มีการชำรุดและมีไม่เพียงพอสำหรับการให้บริการ โคกเคียน ทั้ง ๑๓ หมู่บ้าน ที่มีความจำเป็นต้องจัดบริการติดตามวัดความดันโลหิตให้กับกลุ่มเป้าหมายได้ อย่างต่อเนื่อง     ความเร่งด่วนพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้มีศักยภาพเหมาะสมในการดูและประชาชนในเขตตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส กลุ่มเสี่ยง และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิต สูงที่บ้าน ต่อเนื่องได้รับการติดตามระดับความดันโลหิตจาก อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงบริการที่ถูกต้องเหมาะสม เป็นบริการแบบใกล้บ้าน จึงเป็นความเร่งด่วนในการจัดทำโครงการนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ ยงต่อโรคความดันโลหิต สูงและผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจประเมินและ ติดตามภาวะสุขภาพทางร่างกายและสามารถดู แลตนเองได้
  2. เพื่อเสริมสร้างให้ อสม.มีศักยภาพในการจัดบริการ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะการติดตามการวัดความดันโลหิตสูงที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขเกี่ยวกับแผนการดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการ แก่ อสม.ในการลงวัดความดันโลหิตที่บ้าน (เจ้าหน้าที่ผู้รับงาน ๒ รพ.สต. แห่ง ละ ๓ คน เจ้าหน้าที่ สสอ.เมือง ๓ คน รวม ๙ คน)
  2. ประชุมเชิงปฏิบัติการทักษะการวัดความดันโลหิตสูง แก่ อสม.สำหรับให้บริการ แก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรค ความดันโลหิตสูง ในชุมชน จำนวน ๑๒๐ คน จัดกิจกรรม ๒ วัน วันละ ๖o คน
  3. สนับสนุนเครื่องวัดความดันโลหิต ที่มีมาตรฐานทาง การแพทย์แก่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะเพื่อให้ เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านไปวัด ความดันโลหิต แก่กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ในชุม
  4. นิเทศและติดตามงานการดำเนินกิจกรรม ดูแลวัดความดันที่บ้านแก่กลุ่มเสี่ยงเเละผู้ป่วยความดันโลหิตในชุมชน ที่ รพสต.ปีละ ๒ ครั้ง (แผนนิเทศภาคผนวก๒)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มป่วยได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านก่อนพบแพทย์เพื่อการเข้าถึงการวินิจฉัยที่ถูกต้อง ๒.กลุ่มเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูงและกลุ่มป่วยได้รับการรักษาที่ถูกต้องชะลอการเกิดภาวะแทรกช้อนต่างๆและส่งผลให้มีชีวิตที่ยืนยาวและมีความสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขเกี่ยวกับแผนการดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการ แก่ อสม.ในการลงวัดความดันโลหิตที่บ้าน (เจ้าหน้าที่ผู้รับงาน ๒ รพ.สต. แห่ง ละ ๓ คน เจ้าหน้าที่ สสอ.เมือง ๓ คน รวม ๙ คน)

วันที่ 21 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๙ คน X๒๕ บาท X ๒ มื้อ เป็นเงิน ๔๕๐.-บาท
  • ค่าอารกลางวัน จำนวน ๙ คน X ๕o บาท X ๑ มื้อ เป็นเงิน ๔๕๐.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๙ คน ๒ มื้อ
  • อารกลางวัน จำนวน ๙ คน ๑ มื้อ

 

9 0

2. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขเกี่ยวกับแผนการดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการ แก่ อสม.ในการลงวัดความดันโลหิตที่บ้าน (เจ้าหน้าที่ผู้รับงาน ๒ รพ.สต. แห่ง ละ ๓ คน เจ้าหน้าที่ สสอ.เมือง ๓ คน รวม ๙ คน)

วันที่ 21 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๙ คน X๒๕ บาท X ๒ มื้อ เป็นเงิน ๔๕๐.-บาท
  • ค่าอารกลางวัน จำนวน ๙ คน X ๕o บาท X ๑ มื้อ เป็นเงิน ๔๕๐.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๙ คน ๒ มื้อ
  • อารกลางวัน จำนวน ๙ คน ๑ มื้อ

 

9 0

3. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขเกี่ยวกับแผนการดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการ แก่ อสม.ในการลงวัดความดันโลหิตที่บ้าน (เจ้าหน้าที่ผู้รับงาน ๒ รพ.สต. แห่ง ละ ๓ คน เจ้าหน้าที่ สสอ.เมือง ๓ คน รวม ๙ คน)

วันที่ 21 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๙ คน X๒๕ บาท X ๒ มื้อ เป็นเงิน ๔๕๐.-บาท
  • ค่าอารกลางวัน จำนวน ๙ คน X ๕o บาท X ๑ มื้อ เป็นเงิน ๔๕๐.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๙ คน ๒ มื้อ
  • อารกลางวัน จำนวน ๙ คน ๑ มื้อ

 

9 0

4. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขเกี่ยวกับแผนการดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการ แก่ อสม.ในการลงวัดความดันโลหิตที่บ้าน (เจ้าหน้าที่ผู้รับงาน ๒ รพ.สต. แห่ง ละ ๓ คน เจ้าหน้าที่ สสอ.เมือง ๓ คน รวม ๙ คน)

วันที่ 21 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๙ คน X๒๕ บาท X ๒ มื้อ เป็นเงิน ๔๕๐.-บาท
  • ค่าอารกลางวัน จำนวน ๙ คน X ๕o บาท X ๑ มื้อ เป็นเงิน ๔๕๐.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๙ คน ๒ มื้อ
  • อารกลางวัน จำนวน ๙ คน ๑ มื้อ

 

9 0

5. สนับสนุนเครื่องวัดความดันโลหิต ที่มีมาตรฐานทาง การแพทย์แก่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะเพื่อให้ เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านไปวัด ความดันโลหิต แก่กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ในชุม

วันที่ 17 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

-เครื่องวัดความดันโลหิต จำนวน ๑๕ เครื่อง เครื่องละ ๒,๕๐๐ บาท เป็นเงิน ๓๗,๕๐๐.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เครื่องวัดความดันโลหิต จำนวน ๑๕ เครื่อง

 

0 0

6. ประชุมเชิงปฏิบัติการทักษะการวัดความดันโลหิตสูง แก่ อสม.สำหรับให้บริการ แก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรค ความดันโลหิตสูง ในชุมชน จำนวน ๑๒๐ คน จัดกิจกรรม ๒ วัน วันละ ๖o คน

วันที่ 17 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าอาหารว่างเเละเครื่องดื่ม จำนวน ๑๒๐ X ๒๕ บาท X ๒ มื้อ เป็นเงิน ๖,๐๐๐.-บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๑๒๐ X ๕๐ บาท X ๑ มื้อ เป็นเงิน ๖,๐๐๐ .-บาท - ค่าสมนาคุณ วิทยากร จำนวน ๖ ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บาท X ๒ วัน  เป็นเงิน ๗,๒๐๐ .-บาท - ค่าที่พักวิทยากร จำนวน ๑ คืนๆ ละ ๑,๒๐๐ บาท X ๒ คน (ชาย หญิง) เป็นเงิน ๒,๔๐๐.-บาท -ค่าพาหนะของวิทยากร กม.ละ ๔ บาท X ๒๐๐ ไป-กลับ เป็นเงิน ๑,๖๐๐ .-บาท - ค่าจ้างทำป้ายเปิดงาน ขนาด ๓ x ๕ ตารางเมตร เมตรละ ๒๕๐ บาท จำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๓,๗๕๐.-บาท - ค่าวัสดุสำนักงาน ๔,๓๒๐ บาท (ภาคผนวก)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-อาหารว่างเเละเครื่องดื่ม จำนวน ๑๒๐ คน  ๒ มื้อ
- อาหารกลางวัน จำนวน ๑๒๐ คน  ๑ มื้อ
- วิทยากร จำนวน ๒ วัน
- ค่าที่พักวิทยากร จำนวน ๑ คืนๆ  ๒ คน (ชาย หญิง)
-พาหนะของวิทยากร ๒๐๐ กม. ไป-กลับ -ป้ายเปิดงาน จำนวน ๑ ป้าย - วัสดุสำนักงาน

 

120 0

7. นิเทศและติดตามงานการดำเนินกิจกรรม ดูแลวัดความดันที่บ้านแก่กลุ่มเสี่ยงเเละผู้ป่วยความดันโลหิตในชุมชน ที่ รพสต.ปีละ ๒ ครั้ง (แผนนิเทศภาคผนวก๒)

วันที่ 28 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน ๓ คน x ๑ วัน x ๑๒๐ บาท x ๒ ครั้ง เป็นเงิน ๗๒๐ บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เบี้ยเลี้ยง จำนวน ๓ คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ ยงต่อโรคความดันโลหิต สูงและผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจประเมินและ ติดตามภาวะสุขภาพทางร่างกายและสามารถดู แลตนเองได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ความครอบคลุมในการวัดความดันโลหิต ในหมู่บ้านให้แก่ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง มากกว่าร้อยละ ๘๐
80.00

 

2 เพื่อเสริมสร้างให้ อสม.มีศักยภาพในการจัดบริการ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะการติดตามการวัดความดันโลหิตสูงที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : อสม.สามารถ ใช้เครื่องวัดความดันโลหิต ถูกต้องและวิธีการวัดความดันโลหิตอย่างถูกต้อง มากกว่า ร้อยละ ๙๐
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ ยงต่อโรคความดันโลหิต สูงและผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจประเมินและ ติดตามภาวะสุขภาพทางร่างกายและสามารถดู แลตนเองได้ (2) เพื่อเสริมสร้างให้ อสม.มีศักยภาพในการจัดบริการ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะการติดตามการวัดความดันโลหิตสูงที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขเกี่ยวกับแผนการดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการ แก่ อสม.ในการลงวัดความดันโลหิตที่บ้าน (เจ้าหน้าที่ผู้รับงาน ๒ รพ.สต. แห่ง ละ ๓ คน เจ้าหน้าที่ สสอ.เมือง ๓ คน รวม ๙ คน) (2) ประชุมเชิงปฏิบัติการทักษะการวัดความดันโลหิตสูง แก่ อสม.สำหรับให้บริการ แก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรค ความดันโลหิตสูง ในชุมชน จำนวน ๑๒๐ คน จัดกิจกรรม ๒ วัน วันละ ๖o คน (3) สนับสนุนเครื่องวัดความดันโลหิต ที่มีมาตรฐานทาง การแพทย์แก่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะเพื่อให้ เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านไปวัด ความดันโลหิต แก่กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ในชุม (4) นิเทศและติดตามงานการดำเนินกิจกรรม ดูแลวัดความดันที่บ้านแก่กลุ่มเสี่ยงเเละผู้ป่วยความดันโลหิตในชุมชน ที่ รพสต.ปีละ ๒ ครั้ง (แผนนิเทศภาคผนวก๒)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2492-1-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอดุลย์ มูซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด