โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ”
ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย ชูเอียด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา
กรกฎาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7252-01-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงหน่วยงานที่ให้คำปรึกษากรณีเกิดเหตุตั้งครรภ์ไม่พร้อม (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีในการมีเพศสัมพันธ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประสานงานและส่งแผนการดำเนินงานแก่ผู้อำนวยการสถานศึกษา เพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย (2) ดำเนินกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เป็นเวลา 1 วัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เห็นควรใช้ศูนย์การเรียนรู้สู่อาเซียนในการจัดกิจกรรม
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ องค์การสหประชาชาติ ได้กำหนดให้การลดอัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหสวรรษ และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน กำหนดให้การลดอัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ 10-14 ปี และอายุ 15-19 ปี เป็นส่วนหนึ่งของตัวชี้วัดในการบรรลุเป้าหมาย 3 ว่าด้วยการสร้างหลักประกันสุขภาพให้คนมีชีวิตที่มีคุณภาพและส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของคนทุกเพศทุกวัยที่นานาชาติต้องการบรรลุได้ภายในปี พ.ศ.2573 ดังนั้นการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องได้รับการป้องกันและแก้ไขโดยทุกภาคส่วน ที่ต้องอาศัยความร่วมมืออย่างจริงจัง ทั้งนี้ เทศบาลเมืองสะเดา ในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ตาม พรบ.เทศบาล พ.ศ.2496 (แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 13 พ.ศ.2552)มาตรา 50(6)(7) และพรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท.พ.ศ.2542 มาตรา 16(10)(19) และสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (2560-2579) ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2569) ที่เน้นการเตรียมพร้อมด้านด้านกำลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของประชากรในทุกช่วงวัย แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) และจากการติดตามการดำเนินงานโครงการ "ป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น"ในห้วงระยะเวลาที่ผ่านมา 2 ปี กลุ่มเป้าหมาย 240 คน เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการไม่มีปัญหาเรื่องการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จึงได้จัดทำโครงการป้องกันกาตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นและขยายผลสู่กลุ่มเป้าหมายใหม่อย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งหวังให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง และสร้างกระแสในการปรับทัศนคติค่านิยมเรื่องเพศที่เหมาะสม และการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงหน่วยงานที่ให้คำปรึกษากรณีเกิดเหตุตั้งครรภ์ไม่พร้อม
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีในการมีเพศสัมพันธ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประสานงานและส่งแผนการดำเนินงานแก่ผู้อำนวยการสถานศึกษา เพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย
- ดำเนินกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เป็นเวลา 1 วัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
140
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
2.ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงหน่วยงานที่ให้คำปรึกษากรณีเกิดเหตุการณ์ตั้งครรภ์ไม่พร้อม
3.ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดการสร้างกรพแสในการปรับทัศนคติ ค่ายนิยมเรื่องเพศที่เหมาะสม และการป้องกันตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
4.ผู้เข้าร่วมโครงการใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีในการมีเพศสัมพันธ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เชิงปริมาณ
-เมื่อเทียบกับกลุ่มเป้าหมาย คิดเป็น (141/140)% เท่ากับ 100.71%
-เมื่อเทียบกับงบประมาณที่ใช้ คิดเป็น (25,469/26,135)% เท่ากับ 97.45%
เชิงคุณภาพ
(1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัยหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
(2) ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงหน่วยงานที่ให้คำปรึกษากรณีเกิดเหตุการณ์ตั้งครรภ์ไม่พร้อม
(3) ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดการสร้างกระแสในการปรับทัศนคติ ค่านิยมเรื่องเพศที่เหมาะสม และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
(4) ผู้เข้าร่วมโครงการใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีในการมีเพศสัมพันธ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่เข้ารับอากรอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น เพิ่มขึ้น
0.00
2
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงหน่วยงานที่ให้คำปรึกษากรณีเกิดเหตุตั้งครรภ์ไม่พร้อม
ตัวชี้วัด : ภาวะการติดเชื้อเอดส์และโรคติดต่อจากการมีเพศสัมพันธ์ลดลง
0.00
3
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีในการมีเพศสัมพันธ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแม่อายุ 12-15 ปีในท้องถิ่น คลอดลดลง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
140
140
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
140
140
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงหน่วยงานที่ให้คำปรึกษากรณีเกิดเหตุตั้งครรภ์ไม่พร้อม (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีในการมีเพศสัมพันธ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประสานงานและส่งแผนการดำเนินงานแก่ผู้อำนวยการสถานศึกษา เพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย (2) ดำเนินกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เป็นเวลา 1 วัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เห็นควรใช้ศูนย์การเรียนรู้สู่อาเซียนในการจัดกิจกรรม
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7252-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมชาย ชูเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ”
ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย ชูเอียด
กรกฎาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7252-01-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงหน่วยงานที่ให้คำปรึกษากรณีเกิดเหตุตั้งครรภ์ไม่พร้อม (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีในการมีเพศสัมพันธ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประสานงานและส่งแผนการดำเนินงานแก่ผู้อำนวยการสถานศึกษา เพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย (2) ดำเนินกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เป็นเวลา 1 วัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เห็นควรใช้ศูนย์การเรียนรู้สู่อาเซียนในการจัดกิจกรรม
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ องค์การสหประชาชาติ ได้กำหนดให้การลดอัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหสวรรษ และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน กำหนดให้การลดอัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ 10-14 ปี และอายุ 15-19 ปี เป็นส่วนหนึ่งของตัวชี้วัดในการบรรลุเป้าหมาย 3 ว่าด้วยการสร้างหลักประกันสุขภาพให้คนมีชีวิตที่มีคุณภาพและส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของคนทุกเพศทุกวัยที่นานาชาติต้องการบรรลุได้ภายในปี พ.ศ.2573 ดังนั้นการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องได้รับการป้องกันและแก้ไขโดยทุกภาคส่วน ที่ต้องอาศัยความร่วมมืออย่างจริงจัง ทั้งนี้ เทศบาลเมืองสะเดา ในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ตาม พรบ.เทศบาล พ.ศ.2496 (แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 13 พ.ศ.2552)มาตรา 50(6)(7) และพรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท.พ.ศ.2542 มาตรา 16(10)(19) และสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (2560-2579) ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2569) ที่เน้นการเตรียมพร้อมด้านด้านกำลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของประชากรในทุกช่วงวัย แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) และจากการติดตามการดำเนินงานโครงการ "ป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น"ในห้วงระยะเวลาที่ผ่านมา 2 ปี กลุ่มเป้าหมาย 240 คน เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการไม่มีปัญหาเรื่องการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จึงได้จัดทำโครงการป้องกันกาตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นและขยายผลสู่กลุ่มเป้าหมายใหม่อย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งหวังให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง และสร้างกระแสในการปรับทัศนคติค่านิยมเรื่องเพศที่เหมาะสม และการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงหน่วยงานที่ให้คำปรึกษากรณีเกิดเหตุตั้งครรภ์ไม่พร้อม
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีในการมีเพศสัมพันธ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประสานงานและส่งแผนการดำเนินงานแก่ผู้อำนวยการสถานศึกษา เพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย
- ดำเนินกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เป็นเวลา 1 วัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 140 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น 2.ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงหน่วยงานที่ให้คำปรึกษากรณีเกิดเหตุการณ์ตั้งครรภ์ไม่พร้อม 3.ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดการสร้างกรพแสในการปรับทัศนคติ ค่ายนิยมเรื่องเพศที่เหมาะสม และการป้องกันตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 4.ผู้เข้าร่วมโครงการใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีในการมีเพศสัมพันธ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เชิงปริมาณ -เมื่อเทียบกับกลุ่มเป้าหมาย คิดเป็น (141/140)% เท่ากับ 100.71% -เมื่อเทียบกับงบประมาณที่ใช้ คิดเป็น (25,469/26,135)% เท่ากับ 97.45% เชิงคุณภาพ (1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัยหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น (2) ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงหน่วยงานที่ให้คำปรึกษากรณีเกิดเหตุการณ์ตั้งครรภ์ไม่พร้อม (3) ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดการสร้างกระแสในการปรับทัศนคติ ค่านิยมเรื่องเพศที่เหมาะสม และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น (4) ผู้เข้าร่วมโครงการใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีในการมีเพศสัมพันธ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่เข้ารับอากรอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น เพิ่มขึ้น |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงหน่วยงานที่ให้คำปรึกษากรณีเกิดเหตุตั้งครรภ์ไม่พร้อม ตัวชี้วัด : ภาวะการติดเชื้อเอดส์และโรคติดต่อจากการมีเพศสัมพันธ์ลดลง |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีในการมีเพศสัมพันธ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ตัวชี้วัด : ร้อยละของแม่อายุ 12-15 ปีในท้องถิ่น คลอดลดลง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 140 | 140 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 140 | 140 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงหน่วยงานที่ให้คำปรึกษากรณีเกิดเหตุตั้งครรภ์ไม่พร้อม (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีในการมีเพศสัมพันธ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประสานงานและส่งแผนการดำเนินงานแก่ผู้อำนวยการสถานศึกษา เพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย (2) ดำเนินกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เป็นเวลา 1 วัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เห็นควรใช้ศูนย์การเรียนรู้สู่อาเซียนในการจัดกิจกรรม
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7252-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมชาย ชูเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......