กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการจัดการปัญหาสุนัขในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2563 ”
ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายนฤทธิรงค์ นพรัตน




ชื่อโครงการ โครงการจัดการปัญหาสุนัขในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7252-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการปัญหาสุนัขในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการปัญหาสุนัขในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการปัญหาสุนัขในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7252-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล ปัจจุบันโรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่ยังสามารถแก้ไขไม่ได้และยังเป็นปัญหาในด้านสาธารณสุข ซึ่งโรคพิษสุนัขบ้า เกิดจากเชื้อไวรัสชื่อเรบี่ส์ไวรัส(RabiesVirus)มีรูปร่างคล้ายกระสุนปืน เมื่อเชื้อนี้เข้าสู่ร่างกายคนหรือสัตว์แล้วจะเดินทางไปตามเส้นประสาทเข้าสู่สมอง เมื่อเกิดอาการขึ้นแล้วไม่สามารถรักษาให้หายได้ ต้องเสียชีวิตทุกราย ต่อมาจึงจัดเป็นโรคร้ายแรงชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถเกิดได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด เช่น สุนัขแมวกระรอกหนูวัวควายฯลฯซึ่งเชื้อนี้สามารถอยู่ในน้ำลายของสัตว์ เช่น น้ำลายของสุนัขและเชื้อสามารถแพร่กระจายโดยถูกการกัดหรือสัมผัสกับน้ำลาย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมจึงหาวิธีการแก้ไขเพื่อให้เป็นไปตามระบบและอยู่ภายใต้ข้อกฎหมายต่างๆจึงมีแนวทางการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรมชัดเจนและยั่งยืน สามารถลดความเสี่ยงและลดอุบัติการณ์ของการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าทั้งในคนและสัตว์ ทางเทศบาลเมืองสะเดาจึงได้จัดทำโครงการจัดการปัญหาสุนัขในชุมชน เพื่อแก้ไขปัญหาสุนัขในชุมชนอย่างยั่งยืน อันจะนำไปสู่การบริหารจัดการจำนวนสุนัขในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปในทางเดียวกันเพื่อให้จำนวนประชากรสุนัขในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดามีจำนวนลดน้อยลง เนื่องจากจำนวนประชากรของสุนัขในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ที่มีเจ้าของจำนวน ๙๙๖ ตัว เป็นสุนัขเพศผู้ ๖๐๗ ตัว สุนัขเพศเมีย ๓๘๘ ตัว รวมทั้งหมด ๙๙๕ ตัว สุนัขจรจัด ๕๓ ตัว และปัญหาสุนัขจรจัดในเทศบาลเมืองสะเดาตั้งแต่เดือน พฤษภาคม ๒๕๖๓ นั้นมีประชาชนทั้ง ๑๙ ชุมชมร้องเรียนเรื่องสุนัขจรจัดสร้างความเดือนร้อนให้กับหลายๆชุมชน เช่นสุนัขจรจัดทำร้ายและกัดคนในชุมชน เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาแบบยั่งยืนและมีประสิทธิภาพทำให้ประเทศไทยปลอดจากโรคพิษสุนัขบ้าในที่สุด ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ทางเทศบาลเมืองสะเดา ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้ทำโครงการฯดังกล่าวขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการจัดการที่ถูกต้องกับสุนัขในชุมชน
  2. เพื่อสร้างทัศนคติที่เป็นบวกเกี่ยวกับสุนัขในชุมชน
  3. เพื่อจัดการให้สุนัขทุกตัวในชุมชนสามารถจับบังคับได้ และมีการขึ้นทะเบียนประวัติ
  4. เพื่อควบคุมประชากรสุนัขและดูแลสุขภาพสุนัขในชุมชน
  5. เพื่อสร้างมาตรการที่เหมาะสมกับสุนัขที่เข้ามาใหม่ในชุมชนซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงาน และชุมชนต่างๆในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสะเดา
  6. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุนัขในชุมชนให้เป็นมิตรกับคนในชุมชน
  7. เพื่อควบคุมประชากรสุนัขในที่สาธารณะไม่ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้นโดยการผ่าตัดทำหมัน
  8. เพื่อตรวจสุขภาพและป้องกันโรคของสุนัขและโรคสัตว์สู่คน เช่น โรคพิษสุนัขบ้า เป็นต้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับสุนัขในชุมชน
  2. กิจกรรมฉีดวัคซีนให้แก่สัตว์เลี้ยงทั้ง ๑๙ ชุมชนโดยให้ประชาชนนำสัตว์เลี้ยงมารับวัคซีน ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองสะเดา
  3. กิจกรรมทำหมันให้สุนัขในชุมชนเพื่อควบคุมการเพิ่มจํานวนประชากรสุนัขในชุมชน
  4. ทำป้ายห้อยคอสุนัขในเขตชุมชน ๑๙ ชุมชน ด้วยการระบุสีของป้ายห้อยคอ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประธานชุมชนและ อสม.19 ชุมชนๆ ละ 10คน และประชาชน 190

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประธานชุมชน, ตัวแทน อสม.ทั้ง ๑๙ ชุมชน เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลโครงการ และประชาชนที่สนใจในกิจกรรม
2.ประชาชนที่นำสัตว์เลี้ยงมาฉีดวัคซีน /กิจกรรมได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมิน 3.สุนัขในชุมชนมีจำนวนลดน้อยลงและยังควบคุมปัญหาโรคระบาดในสัตว์ เช่น โรคพิษสุนัขบ้า 4.ช่วยป้องกันการทำร้ายจากสุนัขในชุมชนและช่วยลดปัญหาสุนัขจรจัดเข้ามาในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการจัดการที่ถูกต้องกับสุนัขในชุมชน
ตัวชี้วัด : มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของเป้าหมายที่ตั้งไว้
0.00

 

2 เพื่อสร้างทัศนคติที่เป็นบวกเกี่ยวกับสุนัขในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อจัดการให้สุนัขทุกตัวในชุมชนสามารถจับบังคับได้ และมีการขึ้นทะเบียนประวัติ
ตัวชี้วัด : จำนวนสุนัจที่มีป้ายห้อยคอระบุสีของป้ายอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของเป้าหมายที่ตั้งไว้
0.00

 

4 เพื่อควบคุมประชากรสุนัขและดูแลสุขภาพสุนัขในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อสร้างมาตรการที่เหมาะสมกับสุนัขที่เข้ามาใหม่ในชุมชนซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงาน และชุมชนต่างๆในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสะเดา
ตัวชี้วัด :
0.00

 

6 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุนัขในชุมชนให้เป็นมิตรกับคนในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

7 เพื่อควบคุมประชากรสุนัขในที่สาธารณะไม่ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้นโดยการผ่าตัดทำหมัน
ตัวชี้วัด : เจ้าของนำสุนัข พาสุนัขมาทำหมันอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของเป้าหมายที่ตั้งไว้
0.00

 

8 เพื่อตรวจสุขภาพและป้องกันโรคของสุนัขและโรคสัตว์สู่คน เช่น โรคพิษสุนัขบ้า เป็นต้น
ตัวชี้วัด : นำสุนัขมาฉีดวัคซีนอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของเป้าหมายที่ตั้งไว้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 190
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประธานชุมชนและ อสม.19 ชุมชนๆ ละ 10คน และประชาชน 190

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการจัดการที่ถูกต้องกับสุนัขในชุมชน (2) เพื่อสร้างทัศนคติที่เป็นบวกเกี่ยวกับสุนัขในชุมชน (3) เพื่อจัดการให้สุนัขทุกตัวในชุมชนสามารถจับบังคับได้ และมีการขึ้นทะเบียนประวัติ (4) เพื่อควบคุมประชากรสุนัขและดูแลสุขภาพสุนัขในชุมชน (5) เพื่อสร้างมาตรการที่เหมาะสมกับสุนัขที่เข้ามาใหม่ในชุมชนซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงาน และชุมชนต่างๆในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสะเดา (6) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุนัขในชุมชนให้เป็นมิตรกับคนในชุมชน (7) เพื่อควบคุมประชากรสุนัขในที่สาธารณะไม่ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้นโดยการผ่าตัดทำหมัน (8) เพื่อตรวจสุขภาพและป้องกันโรคของสุนัขและโรคสัตว์สู่คน เช่น โรคพิษสุนัขบ้า เป็นต้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับสุนัขในชุมชน (2) กิจกรรมฉีดวัคซีนให้แก่สัตว์เลี้ยงทั้ง ๑๙ ชุมชนโดยให้ประชาชนนำสัตว์เลี้ยงมารับวัคซีน ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองสะเดา (3) กิจกรรมทำหมันให้สุนัขในชุมชนเพื่อควบคุมการเพิ่มจํานวนประชากรสุนัขในชุมชน (4) ทำป้ายห้อยคอสุนัขในเขตชุมชน ๑๙ ชุมชน ด้วยการระบุสีของป้ายห้อยคอ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดการปัญหาสุนัขในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7252-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนฤทธิรงค์ นพรัตน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด