กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจำปี 2563 ”
ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายทศพร ชาติสุวรรณ




ชื่อโครงการ โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจำปี 2563

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7252-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจำปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจำปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7252-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันปรากฏว่า มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดในทุกพื้นที่ของประเทศไทยเป็นปัญหาที่เป็นภัยร้ายแรงในสังคมไทยมายาวนานโดยมีรูปแบบการแพร่กระจายที่หลากหลายมากขึ้น ซึ่งปรากฏว่าในกลุ่มเยาวชนเป็นกลุ่มที่มีโอกาสติดยาเสพติดมากกว่ากลุ่มอื่น เนื่องจากความอยากรู้อยากลอง รวมทั้งประชาชนทั่วไปในกลุ่มผู้ว่างงาน อาชีพรับจ้าง ฯลฯ อีกทั้งมีปัจจัยจากสภาพแวดล้อม สังคม หรือค่านิยมต่างๆ ที่เป็นแรงผลักดัน ประกอบกับสถานการณ์ราคายาเสพติดที่ลดลง ส่งผลให้หาซื้อยาเสพติดประเภทต่างๆได้ง่าย ก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม ปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้เสพ รวมถึงผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ และการพัฒนาประเทศโดยรวม ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด พ.ศ. 2563 – 2565ให้หน่วยงานต่างๆ ที่มีหน้าที่ในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดประจำปีให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าว เทศบาลเมืองสะเดา ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญในการที่จะดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตามนโยบายของรัฐบาล กิจกรรมอบรมให้ความรู้ตามแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ให้ประชาชนได้เห็นถึงความสำคัญของโทษและพิษภัยของยาเสพติด ตามการป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด เพื่อหยุดยั้งและลดระดับการขยายตัวของปัญหายาเสพติดในพื้นที่ให้มากที่สุด แต่เนื่องจากงบประมาณในการดำเนินการมีไม่เพียงพอ จึงได้จัดทำโครงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กิจกรรมอบรมให้ความรู้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ส่งผลดีต่อการแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยภาพรวม ของประเทศต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจนโยบาย และมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด ตามแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
  2. เพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด
  3. เพื่อให้เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
  4. เพื่อสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการสัมมนาทุกกลุ่มเป้าหมายอย่างครบถ้วน
  2. กำหนดตารางการหัวข้อสัมมนา ระยะเวลา สถานที่ ให้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระที่จะให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมาย
  3. จัดสัมมนา และแลกเปลี่ยนเรียนรู้โทษของยาเสพติด
  4. ดำเนินงานตามโครงการ
  5. สรุป รายงานผลการดำเนินงาน เพื่อเก็บเป็นข้อมูลในการจัดโครงการครั้งต่อไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจนโยบายและมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดตามแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด สามารถนำไปขยายผลหรือขับเคลื่อนในพื้นที่ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 2.ทำให้ประชาชนได้เห็นได้เห็นความสำคัญของพิษภัยและโทษยาเสพติด เข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด 3.ทำให้หน่วยงานของรัฐ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ภาคประชาชน/ภาคเอกชน ได้มีโอกาสเรียนรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 4.ทำให้เกิดเครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • เชิงปริมาณ เมื่อเทียบกับกลุ่มเป้าหมาย  คิดเป็น (102/100)% เท่ากับ 102% เมื่อเทียบกับงบประมาณที่ใช้    คิดเป็น (24,200/28,500)% เท่ากับ 87%
    • เชิงคุณภาพ
      8.1 ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจนโยบายและมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดตามแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด สามารถนำไปขยายผลหรือขับเคลื่อนในพื้นที่ได้อย่าง  มีประสิทธิภาพ 8.2 ทำให้ประชาชนได้เห็นได้เห็นความสำคัญของพิษภัยและโทษยาเสพติด เข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด 8.3 ทำให้หน่วยงานของรัฐ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ภาคประชาชน/ภาคเอกชน ได้มีโอกาสเรียนรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 8.4 ทำให้เกิดเครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดมากขึ้น
  1. ปัญหาอุปสรรค
    • ผู้เข้าร่วมโครงการ
    • การดำเนินงานล่าช้ากว่าแผนที่กำหนด เนื่องด้วยมาตราการการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า
  2. ข้อเสนอแนะ เห็นควรเตรียมรับกับการดำเนินโครงการในสถานการณ์การป้องกันไวรัสโคโรน่า

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจนโยบาย และมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด ตามแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : - สมาชิกชุมชนในเขตเทศบาลเมืองสะเดา คณะกรรมการชุมชน กลุ่มสตรีชุมชน อสม. เครือข่ายการทำงานยาเสพติดในพื้นที่ประกอบด้วย เช่น ตัวแทนโรงพยาบาลอำเภอสะเดา , ตัวแทนสถานีตำรวจภูธรสะเดา , ตัวแทนตำรวจตระเวนชายแดน ค่าย 437 , ตัวแทนโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองสะเดา , ตัวแทนกองร้อย ร.5021 , ตัวแทนกองทุนแม่ของแผ่นดิน มีส่วนร่วมในกิจกรรม ไม่ต่ำกว่า 100 คน - คดียาเสพติดในพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดาลดลง
0.00

 

3 เพื่อให้เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจนโยบาย และมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด ตามแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (2) เพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด (3) เพื่อให้เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (4) เพื่อสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์เชิญชวนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการสัมมนาทุกกลุ่มเป้าหมายอย่างครบถ้วน (2) กำหนดตารางการหัวข้อสัมมนา ระยะเวลา สถานที่ ให้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระที่จะให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมาย (3) จัดสัมมนา และแลกเปลี่ยนเรียนรู้โทษของยาเสพติด (4) ดำเนินงานตามโครงการ (5) สรุป รายงานผลการดำเนินงาน เพื่อเก็บเป็นข้อมูลในการจัดโครงการครั้งต่อไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจำปี 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7252-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายทศพร ชาติสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด