กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารแก่ผู้ประกอบการ ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางศรัณยา ปูเตะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารแก่ผู้ประกอบการ

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4143-1-22 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารแก่ผู้ประกอบการ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารแก่ผู้ประกอบการ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารแก่ผู้ประกอบการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4143-1-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กรกฎาคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,356.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารมีสารเป็นอันตรายปนเปื้อนหรือมีสารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้ แต่มีปริมาณมากกว่าที่กำหนดย่อมก่อให้เกิดพิษภัยกับผู้บริโภค ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต การส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย เป็นสิ่งที่รัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องให้การสนับสนุน ควบคุม ดูแล เฝ้าระวังและป้องกันให้ประชาชน เน้นให้ประชาชนได้บริโภคอาหาร ปลอดภัย มีคุณค่าอย่างทั่วถึง ครอบคลุมทุกพื้นที่ ปัญหาที่พบในอาหารสดมักจะมีสารปนเปื้อนอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อรับประทานเข้าไปแล้วก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อาจเกิดผลทั้งในระยะสั้นและระยะยาวหรืออาจถึงกับชีวิตได้ ส่วนใหญ่ร้านค้าจะเห็นประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าผู้บริโภค มีการใช้สารปนเปื้อนกับอาหารในการหวังผลกำไร ความรู้ไม่เท่าทันของผู้บริโภคทำให้ได้รับสารปนเปื้อนเข้าไปสะสมในร่างกาย
ทาง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเตงนอก ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ทั้ง 3 แห่งคือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยบาแด และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิบงบารู เห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้กำหนดจัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นการให้ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหาร และแผงลอย มีความรู้เรื่องการจัดการอาหารให้ปลอดภัย โดยสามารถดำเนินการผ่านเกณฑ์มาตรฐานข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหารสำหรับแผงลอยและจำหน่ายอาหาร เพื่อให้ประชาชนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อปลุกจิตสำนึกให้ผู้ประกอบการจำหน่ายและผลิตอาหารที่ถูกสุขาภิบาลอาหาร เพื่อลดความเสี่ยงและป้องกันโรค อันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารและน้ำไม่สะอาดมีสารปนเปื้อน
  2. 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการได้เล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนามาตรฐานของสถานประกอบการให้ถูกหลักสุขาภิบาลอาหารเพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากอาหารและส่วนร่วมในการดำเนินโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 82
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ประกอบการร้านค้าจำหน่ายอาหารแผงลอย มีความรู้เรื่อง การจัดการเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารเพิ่มมากขึ้น
    2.ประชาชนได้รับการบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ลงพื้นที่ดำเนินการตรวจสอบสารปนเปื้อนและเชื้อแบคที่เรียในอาหาร

    วันที่ 24 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการตรวจสารปนเปื้อนของร้านผู้ประกอบการจำนวน 82 คน ไม่ได้พบสารปนเปื้อนบอแรกซ์สารกันรา สารฟอกขาว สารฟอร์มาลิน ในอาหาร แต่พบแบคทีเรียเพียงเล็กน้อยหลังจากที่ได้อบรมผู้ประกอบการมีการพัฒนาสถานประกอบการของตนเองถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร สะอาดมีความปลอดภัย ตามมาตรฐานของสุขาภิบาลอาหาร

     

    82 82

    2. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านอาหาและแผงลอยจำหน่ายอาหาร

    วันที่ 18 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ประกอบการร้านค้าจำหน่ายอาหารแผงลอย มีความรู้เรื่องการจัดการความปลอดภัยด้านอาหาร และความสะอาดภายในร้านค้าของตนเอง ทำให้ผู้ที่มาอุดหนุนได้รับการบริโภคอาหารปลอดภัยเกิดผลดีต่อสุขภาพ  ไม่มีสารปนเปื้อนเข้าสู่ร่างกาย

     

    82 82

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ในการลงพื้นที่ตรวจสถานประกอบการจำหน่ายและผลิตอาหารที่ถูกสุขาภิบาลอาหาร ได้ร่วมกับรพ.สต.สะเตงนอก รพ.สต.บ้านบาโงยบาแด และรพ.สต.นิบงบารู  โดยดำเนินการลงตรวจตามร้านอาหาร รายการที่ตรวจมีทั้งหมด 5 รายการ คือ 1.สารบอแรกซ์ 2. สารกันรา  3.สารฟอร์มาลิน  4. แบคทีเรียในอาหาร  5.สารฟอกขาว และมีการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องขั้นตอนการประเมินร้านอาหาร โดยนายซูการ์นอ  มะตีมัน ตำแหน่ง ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลบุดี และให้ความรู้เรื่องการเลือกซื้ออาหารให้ถูกต้องอนามัย โดย นางฮาดีบะห์  กาซอ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหาร และได้ชี้แจงผลการตรวจให้เจ้าของร้านที่เข้าร่วมโครงการทราบ จากการลงไปตรวจไม่พบสิ่งปนเปื้อนในอาหาร ประชาชนได้รับการการบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อปลุกจิตสำนึกให้ผู้ประกอบการจำหน่ายและผลิตอาหารที่ถูกสุขาภิบาลอาหาร เพื่อลดความเสี่ยงและป้องกันโรค อันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารและน้ำไม่สะอาดมีสารปนเปื้อน
    ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการจำหน่ายและผลิตอาหารที่ถูกสุขาภิบาล สะอาด ปลอดภัย

     

    2 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการได้เล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนามาตรฐานของสถานประกอบการให้ถูกหลักสุขาภิบาลอาหารเพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากอาหารและส่วนร่วมในการดำเนินโครงการ
    ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการให้ความสำคัญและพัฒนามาตรฐานของสถานประกอบการให้ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 82
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 82
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อปลุกจิตสำนึกให้ผู้ประกอบการจำหน่ายและผลิตอาหารที่ถูกสุขาภิบาลอาหาร เพื่อลดความเสี่ยงและป้องกันโรค อันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารและน้ำไม่สะอาดมีสารปนเปื้อน (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการได้เล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนามาตรฐานของสถานประกอบการให้ถูกหลักสุขาภิบาลอาหารเพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากอาหารและส่วนร่วมในการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารแก่ผู้ประกอบการ จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4143-1-22

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางศรัณยา ปูเตะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด