กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเครือข่ายสุขภาพรวมใจ ร่วมแก้ไขงานอนามัยแม่และเด็กสู่นโยบายลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2560

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง


“ โครงการเครือข่ายสุขภาพรวมใจ ร่วมแก้ไขงานอนามัยแม่และเด็กสู่นโยบายลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2560 ”

องค์การบริหารส่วนตำบลกาหลงและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาณิต้าดามัน

ชื่อโครงการ โครงการเครือข่ายสุขภาพรวมใจ ร่วมแก้ไขงานอนามัยแม่และเด็กสู่นโยบายลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ องค์การบริหารส่วนตำบลกาหลงและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2524-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 29 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเครือข่ายสุขภาพรวมใจ ร่วมแก้ไขงานอนามัยแม่และเด็กสู่นโยบายลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลกาหลงและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเครือข่ายสุขภาพรวมใจ ร่วมแก้ไขงานอนามัยแม่และเด็กสู่นโยบายลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเครือข่ายสุขภาพรวมใจ ร่วมแก้ไขงานอนามัยแม่และเด็กสู่นโยบายลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลกาหลงและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ รหัสโครงการ 60-L2524-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 29 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ด้านอนามัยแม่และเด็กของจังหวัดนราธิวาส เมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัดของงานอนามัยแม่และเด็กพบว่ายังพบปัญหาสำคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างต่อเนื่อง เพราะสุขภาพอนามัยมารดาทั้งทางร่างกายและจิตใจมีผลกระทบโดยตรงต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์ตลอดมาจนถึงระยะหลังคลอด ซึ่งภาวะหรือโรคหลายอย่างที่เกิดขึ้นในหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดยังส่งผลกระทบที่อาจเป็นอันตรายต่อเด็กที่อยู่ในครรภ์และบางรายอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้
จากข้อมูลผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กในปีงบประมาณ 2559 พบว่างานอนามัยแม่และเด็กยังเป็นปัญหาสาธารณสุขทื่สำคัญของอำเภอศรีสาคร ยังมีหลายตัวชี้วัดที่มีผลการดำเนินงานต่ำกว่าเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด และจากข้อมูลผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของตำบลกาหลง ซึ่งมีจำนวน 4 หมู่บ้าน ผลงานในปีงบประมาณ 2559 พบว่าอัตราการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 98.8 (เกณฑ์มากว่าร้อยละ 60)ผ่านเกณฑ์อัตราการฝากครรภ์ครบ 5 ครังตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 92 (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ95)จะเห็นได้ว่ายังไม่ผ่านเกณฑ์และอัตราการคลอดในสถานบริการ คิดเป็น 100 (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ 92)พบว่าผ่านเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ไว้จากการวิเคราะห์ปัญหางานอนามัยแม่และเด็กโดยทีมสุขภาพของตำบลกาหลง(จนท.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่และเครือข่ายอสม.)พบว่าการที่จะลดปัญหาภาวะสุขภาพแม่และเด็กในพื้นที่การดูแลหญิงตั้งครรภ์นั้น ควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษตั้งแต่ขณะตั้งครรภ์ขณะคลอดและหลังคลอดและหากหญิงตั้งครรภ์เริ่มต้นการฝากครรภ์ที่ดีและรวดเร็วก็จะส่งผลที่ดีในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ให้มาฝากครรภ์ในครั้งต่อไปซึ้งอัตราข้างต้นสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาการขาดความรู้ความเข้าใจในการให้ความสำคัญต่อการมาฝากครรภ์ตั้งแต่เริ่มแรกของการตั้งครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ส่งผลให้ไม่ได้รับการวางแผนป้องกันดูแลขาดการได้รับความรู้ถึงวิธีการปฎิบัติอย่างทันท่วงที โดยเฉพาะในรายที่มีภาวะเสี่ยงสูง (high Risk) ดังนั้น การที่จะลดปัญหาภาวะสุขภาพแม่และเด็กของตำบลการหลงและการดูแลหญิงตั้งครรภ์นั้น ควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษตั้งแต่ขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด และหลังคลอด และจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมืออย่างจริงจัง ตั้งแต่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่จะต้องตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา การให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ ตลอดจนบุคคลที่มีบทบาทในชุมชน เช่น องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ซึ่งเป็นผู้ที่สามารถดูแลอนาม้ยของแม่และเด็กและอยู่ใกล้ชิดกับชุมชนมากที่สุด ตั้งแต่งการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ การแนะนำให้ไปฝากครรภ์ทุกคน และการคลอดในสถานบริหาร ดังนั้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นกับปัญหาสุขภาพของแม่และเด็ก และเพื่อแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็กของตำบลกาหลง ที่สำคัญหญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลติดตามโดยชุมชน มีส่วนร่วมในการดูแล ตลอดจนการมีกิจกรรมเสริมสร้างแรงจูงใจให้กับหญิงตั้งครรภ์ และเกิดการพัฒนากลุ่มเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็กอย่างต่อเนื่ององค์การบริหารส่วนตำบลกาหลง ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของงานอนามัยแม่และเด็ก จึงได้จัดทำโครงการเครือข่ายสุขภาพรวมใจ ร่วมแก้ไขงานอนามัยแม่และเด็ก สู่นโยบายลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส ปีงบประมาณ 2559 เพื่อเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญในการวางแผนการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสม และเพื่อให้เกิดความปลอดภัยทั้งมารดาและทารก ตั้งแต่งในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด สอดคล้องตามนโยบายลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ในตำบลกาหลง เกิดความตระหนักต่อการมารับบริการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์หรือมาฝากครรภ์ทันทีที่รู้ว่าตั้งครรภ์ อย่างน้อยร้อยละ 75
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 95และได้รับการติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่ขาดนัดทุกรายโดยอสม.และเครือข่ายสุขภาพ
  3. เพื่อเฝ้าระวังและส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนส่งผลให้มีสุขภาวะที่ดีลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และไม่เสียชีวิตด้วยสาเหตุที่ป้องกันได้
  4. เพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์มาคลอดในสถานบริการและได้รับการส่งต่ออย่างปลอดภัย ตลอดจนได้รับการดูแลหลังคลอดมาตรฐานการดูแลหลังคลอดตามเกณฑ์ร้อยละ 100

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.หญิงตั้งครรภ์ในตำบลกาหลงเกิดความตระหนักและมารับบริการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์หรือ มาฝากครรภ์ทันทีที่รู้ว่าตั้งครรภ์ มากกว่าหรือเท่ากันร้อยละ 35 2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์มากกว่าหรือเท่าร้อยละ 100 และได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่องโดย อสม. และเครือข่ายสุขภาพ 3.มารดาและทารกในตำบลกาหลงได้รับการดูแลสุขภาพที่ได้มาตรฐานตั้งแต่การตั้งครรภ์ การคลอดและมีสุขภาวะที่ดีตามนโยบายลูกเกิดรอดแม่ปลอกภัย และไม่เสียชีวติด้วยสาเหตุที่ป้องกันได้ 4.หญิงตั้งครรภ์เกิดการตื่นตัวในการมาคลอดในสถานบริการและได้รับการส่งต่ออย่างปลอดภัยตลอดจนได้รับการดูแลหลังคลอดตามมาตรฐานการดูแลหลังคลอดร้อยละ 100 5.มีกลุ่มเครือข่ายสุขภาพเกิดขึ้น โดยเน้นการดูแลชุมชนด้วยชุมชน 6.ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดงานอนามัยแม่และเด็กดีขึ้นกว่าปีผ่านมาในแต่ละตัวชี้วัดหรือบรรลุตามเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ในตำบลกาหลง เกิดความตระหนักต่อการมารับบริการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์หรือมาฝากครรภ์ทันทีที่รู้ว่าตั้งครรภ์ อย่างน้อยร้อยละ 75
    ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการการตามเปอร์เซ็นต์ที่ตั้งไว้

     

    2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 95และได้รับการติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่ขาดนัดทุกรายโดยอสม.และเครือข่ายสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ก่อนคลอดครบ 5 ตามเป้าหมาย

     

    3 เพื่อเฝ้าระวังและส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนส่งผลให้มีสุขภาวะที่ดีลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และไม่เสียชีวิตด้วยสาเหตุที่ป้องกันได้
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลและมีสุขภาพดีทุกราย

     

    4 เพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์มาคลอดในสถานบริการและได้รับการส่งต่ออย่างปลอดภัย ตลอดจนได้รับการดูแลหลังคลอดมาตรฐานการดูแลหลังคลอดตามเกณฑ์ร้อยละ 100
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีความปลอดภัยและได้รับการดูอย่างดี

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ในตำบลกาหลง เกิดความตระหนักต่อการมารับบริการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์หรือมาฝากครรภ์ทันทีที่รู้ว่าตั้งครรภ์ อย่างน้อยร้อยละ 75 (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 95และได้รับการติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่ขาดนัดทุกรายโดยอสม.และเครือข่ายสุขภาพ (3) เพื่อเฝ้าระวังและส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนส่งผลให้มีสุขภาวะที่ดีลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และไม่เสียชีวิตด้วยสาเหตุที่ป้องกันได้ (4) เพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์มาคลอดในสถานบริการและได้รับการส่งต่ออย่างปลอดภัย ตลอดจนได้รับการดูแลหลังคลอดมาตรฐานการดูแลหลังคลอดตามเกณฑ์ร้อยละ 100

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเครือข่ายสุขภาพรวมใจ ร่วมแก้ไขงานอนามัยแม่และเด็กสู่นโยบายลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2524-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอาณิต้าดามัน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด