กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการสร้างเสริมความปลอดภัย ลดภาวะเสี่ยงในกลุ่มสานเสื่อกระจูดตำบลโคกเคียน ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมความปลอดภัย ลดภาวะเสี่ยงในกลุ่มสานเสื่อกระจูดตำบลโคกเคียน

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2492-2-47 เลขที่ข้อตกลง 47/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2563 ถึง 25 ธันวาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมความปลอดภัย ลดภาวะเสี่ยงในกลุ่มสานเสื่อกระจูดตำบลโคกเคียน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมความปลอดภัย ลดภาวะเสี่ยงในกลุ่มสานเสื่อกระจูดตำบลโคกเคียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมความปลอดภัย ลดภาวะเสี่ยงในกลุ่มสานเสื่อกระจูดตำบลโคกเคียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2492-2-47 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2563 - 25 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในตำบลโคกเคียนมีกลุ่มที่เป็นแรงงานนอกระบบ โดยเฉพาะกลุ่มสานเสื่อกระจูดที่ทำเป็นทั้งอาชีพเสริมและอาชีพหลัก ประมาณ 300 ครอบครัว การสานเสื่อกระจูดเป็นวิถีชาวบ้าน ภูมิปัญญาของคนในชุมชนที่มีการถ่ายทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ จากที่ได้มีเวทีให้กลุ่มตัวแทน 13 ชุมชน ผู้เข้าร่วม 40 คน มีการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและความเสี่ยง อันตรายจากการทำงาน เช่น การตากแห้ง ที่ต้องสัมผัสกับฝุ่นหรือเชื้อรา การย้อมสี โดยเฉพาะสีมีการผสมสารตะกั่ว ซึ่งมีการสูดดมตลอดระยะเวลาของการต้ม การเทน้ำทิ้งลงดินหลังจากการย้อมเสร็จ ตลอดจนช่วงของการจักสาน เช่น ท่าทางในการนั่งทำงานที่ต้องก้มตลอดเวลาและการใช้สายตาเป็นระยะเวลานาน ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นทำให้เห็นว่าลักษณะของงานที่ทำยังคงมีความเสี่ยงและส่งผลต่อสุขภาพของผู้ใช้แรงงานในระยะยาว ซึ่งโดยส่วนใหญ่ยังขาดการป้องกัน การขาดความรู้ ความตระหนักในการป้องกันโรค ดังนั้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรครวมถึงการสร้างเสริมความปลอดภัย ลดภาวะเสี่ยงทางสุขภาพที่เกิดจากการทำงานให้กับกลุ่มสานเสื่อกระจูด จึงเป็นที่มาของการดำเนินโครงการฯ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและลดภาวะเสี่ยงทางสุขภาพที่เกิดจากการทำงานของกลุ่มสานเสื่อกระจูด
  2. 2. เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยที่เกิดจากการทำงานของกลุ่มสานเสื่อกระจูด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในชุมชน
  2. สำรวจข้อมูลและจัดทำทะเบียนประวัติ จากแบบประเมินปัญหาความเสี่ยง อันตรายจากการทำงานสานเสื่อกระจูดก่อนและหลังการดำเนินโครงการ
  3. อบรมให้ความรู้การสร้างเสริมความปลอดภัย ลดภาวะเสี่ยงทางสุขภาพที่เกิดจากการทำงานให้กับกลุ่มสานเสื่อกระจูด โดยอาสาสมัครอาชีว อนามัย (อสอช.) ที่ผ่านการอบรมฯ
  4. จัดซื้ออุปกรณ์เพื่อสร้างความปลอดภัยจากการทำงาน
  5. 5. สร้างนวัตกรรมเพื่อลดภาวะเสี่ยงทางสุขภาพที่เกิดจากการทำงานเป็นระยะเวลานาน (ยางยืดบริหารร่างกาย)
  6. ถอดบทเรียนจากการดำเนินโครงการฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มสานเสื่อกระจูด มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันโรคจากการทำงาน
  2. กลุ่มสานเสื่อกระจูด เกิดความตระหนักในการป้องกันตนเอง เพื่อลดภาวะเสี่ยงและอันตรายจากการทำงาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้การสร้างเสริมความปลอดภัย ลดภาวะเสี่ยงทางสุขภาพที่เกิดจากการทำงานให้กับกลุ่มสานเสื่อกระจูด โดยอาสาสมัครอาชีว อนามัย (อสอช.) ที่ผ่านการอบรมฯ

วันที่ 10 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน  50 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน  50 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
  • ค่าป้ายไวนิลโครงการสร้างเสริมความปลอดภัย ลดภาวะเสี่ยงในกลุ่มสานเสื่อกระจูดตำบลโคกเคียนขนาด 1 x 3 เมตร เป็นเงิน 750 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

50 0

2. จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในชุมชน

วันที่ 15 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าวิทยากร 1 คน จำนวน  12 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน  10 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน  500 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน  10 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน  500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

3. สำรวจข้อมูลและจัดทำทะเบียนประวัติ จากแบบประเมินปัญหาความเสี่ยง อันตรายจากการทำงานสานเสื่อกระจูดก่อนและหลังการดำเนินโครงการ

วันที่ 17 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าถ่ายเอกสารแบบสำรวจข้อมูล จำนวน 100 ชุดๆละ 10 บาท เป็นเงิน  1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แบบสำรวจข้อมูล จำนวน 100 ชุด

 

0 0

4. จัดซื้ออุปกรณ์เพื่อสร้างความปลอดภัยจากการทำงาน

วันที่ 21 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าหน้ากากอนามัยแบบผ้า จำนวน  100 ชิ้นๆละ 15 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
  • ค่าถุงมือยางชนิดหนา จำนวน 50 คู่ๆละ 20 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
  • ค่ารองเท้าบู้ท จำนวน 50 คู่ๆละ 120 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
  • ค่าผ้ายางกันเปื้อน (เอี๊ยมกันน้ำแบบยาว) จำนวน 50 ตัวๆละ 150 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

5. 5. สร้างนวัตกรรมเพื่อลดภาวะเสี่ยงทางสุขภาพที่เกิดจากการทำงานเป็นระยะเวลานาน (ยางยืดบริหารร่างกาย)

วันที่ 21 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าหนังยางวงใหญ่ จำนวน 25 ถุงๆละ 90 บาท เป็นเงิน  2,250 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

6. ถอดบทเรียนจากการดำเนินโครงการฯ

วันที่ 23 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน  50 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน  2,500 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน  50 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและลดภาวะเสี่ยงทางสุขภาพที่เกิดจากการทำงานของกลุ่มสานเสื่อกระจูด
ตัวชี้วัด : กลุ่มสานเสื่อกระจูดได้รับการสร้างเสริมความปลอดภัยและลดภาวะเสี่ยงทางสุขภาพที่เกิดจากการทำงาน ร้อยละ 80
80.00

 

2 2. เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยที่เกิดจากการทำงานของกลุ่มสานเสื่อกระจูด
ตัวชี้วัด : กลุ่มสานเสื่อกระจูดมีการป้องกันการเจ็บป่วยที่เกิดจากการทำงาน ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและลดภาวะเสี่ยงทางสุขภาพที่เกิดจากการทำงานของกลุ่มสานเสื่อกระจูด (2) 2. เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยที่เกิดจากการทำงานของกลุ่มสานเสื่อกระจูด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในชุมชน (2) สำรวจข้อมูลและจัดทำทะเบียนประวัติ จากแบบประเมินปัญหาความเสี่ยง อันตรายจากการทำงานสานเสื่อกระจูดก่อนและหลังการดำเนินโครงการ (3) อบรมให้ความรู้การสร้างเสริมความปลอดภัย ลดภาวะเสี่ยงทางสุขภาพที่เกิดจากการทำงานให้กับกลุ่มสานเสื่อกระจูด  โดยอาสาสมัครอาชีว อนามัย (อสอช.) ที่ผ่านการอบรมฯ (4) จัดซื้ออุปกรณ์เพื่อสร้างความปลอดภัยจากการทำงาน (5) 5. สร้างนวัตกรรมเพื่อลดภาวะเสี่ยงทางสุขภาพที่เกิดจากการทำงานเป็นระยะเวลานาน (ยางยืดบริหารร่างกาย) (6) ถอดบทเรียนจากการดำเนินโครงการฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมความปลอดภัย ลดภาวะเสี่ยงในกลุ่มสานเสื่อกระจูดตำบลโคกเคียน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2492-2-47

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด