กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาพฤติกรรมการป้องกันโรค และควบคุมโรคไข้เลือดออกของแกนนำครัวเรือน ในพื้นที่หมู่ที่6บ้านโคกโหนด ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการพัฒนาพฤติกรรมการป้องกันโรค และควบคุมโรคไข้เลือดออกของแกนนำครัวเรือน ในพื้นที่หมู่ที่6บ้านโคกโหนด ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาพฤติกรรมการป้องกันโรค และควบคุมโรคไข้เลือดออกของแกนนำครัวเรือน ในพื้นที่หมู่ที่6บ้านโคกโหนด ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3339-02-07 เลขที่ข้อตกลง 0015/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาพฤติกรรมการป้องกันโรค และควบคุมโรคไข้เลือดออกของแกนนำครัวเรือน ในพื้นที่หมู่ที่6บ้านโคกโหนด ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาพฤติกรรมการป้องกันโรค และควบคุมโรคไข้เลือดออกของแกนนำครัวเรือน ในพื้นที่หมู่ที่6บ้านโคกโหนด ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาพฤติกรรมการป้องกันโรค และควบคุมโรคไข้เลือดออกของแกนนำครัวเรือน ในพื้นที่หมู่ที่6บ้านโคกโหนด ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3339-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลสถานการณ์การระบาดโรคไข้เลือดออกในอำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2558 – 2562 พบว่า มีอัตราป่วย 58.49, 211.03, 125.66, 217.25 และ 441.51 ต่อแสนประชากรตามลำดับ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้อัตรา 50 ต่อประชากรแสนคน ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในขุมชน (House Index :HI) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 เมื่อจำแนกเป็นรายตำบลพบว่า ตำบลหารเทาที่มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 52 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 32,202 ไร่ และมีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 9,986 คน แยกเป็นชาย 4,906 คน หญิง 5,080 คน ซึ่งในตำบลหารเทา มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่เพิ่มขึ้น อีกทั้งยังเป็นปัญหาหลักของพื้นที่ ที่พบผู้ป่วยเกือบทุกปี โดยมีการแพร่ระบาดในปี 2561 ในหมู่ที่ 9 มี อัตราป่วย 2,680.97 ต่อแสนประชาการ ส่วนในปี 2562 ในหมู่ที่4 มีอัตราป่วย 3,918.61 ต่อแสนประชากร และใน ปี 2563 จากข้อมูล Health Data Center วันที่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563 ในหมู่ที่ 6 มีอัตราผู้ป่วย 6 ราย ซึ่งคิดเป็น 438.12 ต่อแสนประชากร จากการค้นคว้ามีการศึกษาโดยใช้แนวทางแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model :HBM) ของ Becker et al (1975) พบว่า บุคคลที่มีการรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยง ความรุนแรงของโรค ประโยชน์ที่จะได้รับจากการป้องกันและอุปสรรคต่อการปฏิบัติ บุคคลนั้นจะเห็นความสำคัญของการมีสุขภาพดี จึงให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ (รัศมน ศิริโชติ และคณะ, 2550) และการดำเนินงานเพื่อที่จะให้มีผลต่อพฤติกรรม อย่างแท้จริงต้องอาศัยกระบวนการและวิธีการต่างๆ ร่วมกัน จากการศึกษาข้อมูลทางวิชาการพบว่า การใช้แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ และการมีส่วนร่วมที่มีความต่อเนื่องเป็นวงจร จะทำให้เกิดความเชื่อมั่นในการรับรู้ความตระหนักรู้ทักษะและความมั่นใจต่อการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของแกนนำสุขภาพประจำครอบครัวจนสามารถมีพฤติกรรมปฏิบัติในด้านการป้องกันและควบคุมโรคที่ดีขึ้น (เกศิณี วงศ์สุบิน และคณะ, 2559) ดังนั้นผู้จัดทำโครงการจึงสนใจที่จะศึกษาผลของโปรแกรมสุขศึกษาต่อพฤติกรรมการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกของแกนนำครัวเรือน ในตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ผลที่ได้จากการศึกษาจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ของอำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุงอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาต่อความรู้ การรับรู้ พฤติกรรมการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ของแกนนำครัวเรือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจข้อมูลการระบาดของโรคไข้เลือดออกภายในชุมชนหมุ่ 6 บ้านโคกโหนด
  2. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการอบรมให้ความรู้และจัดทำโคกโหนดโมเดล
  3. 3. ดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 85
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ได้โปรแกรมสุขศึกษาในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  2. หลังเข้าร่วมโปรแกรมสุขศึกษาแกนนำครัวเรือนมีความรู้ การรับรู้ พฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
    ที่ดีขึ้น
  3. หลังเข้าร่วมโปรแกรมสุขศึกษาแกนนำครัวเรือนสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
    1. แกนนำครัวเรือนมีส่วนร่วมต่อสังคมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้เป็นอย่างดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาต่อความรู้ การรับรู้ พฤติกรรมการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ของแกนนำครัวเรือน
ตัวชี้วัด : - แกนนำครัวเรือนมีค่าคะแนนความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมสุขศึกษา ร้อยละ 70 - แกนนำครัวเรือนมีค่าคะแนนการรับรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมสุขศึกษา ร้อยละ 70 - แกนนำครัวเรือนมีค่าคะแนนพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมสุขศึกษา ร้อยละ 70
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 85
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 85
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาต่อความรู้ การรับรู้ พฤติกรรมการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ของแกนนำครัวเรือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจข้อมูลการระบาดของโรคไข้เลือดออกภายในชุมชนหมุ่ 6 บ้านโคกโหนด (2) จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการอบรมให้ความรู้และจัดทำโคกโหนดโมเดล (3) 3. ดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาพฤติกรรมการป้องกันโรค และควบคุมโรคไข้เลือดออกของแกนนำครัวเรือน ในพื้นที่หมู่ที่6บ้านโคกโหนด ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3339-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด