กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปลอดภัย ห่างไกลโรคแทรกซ้อน ปี 2564โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปลอดภัย ห่างไกลโรคแทรกซ้อน ปี 2564โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางปทุมมาศ โลหะจินดา

ชื่อโครงการ โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปลอดภัย ห่างไกลโรคแทรกซ้อน ปี 2564โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5307-1-03 เลขที่ข้อตกลง 06/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปลอดภัย ห่างไกลโรคแทรกซ้อน ปี 2564โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปลอดภัย ห่างไกลโรคแทรกซ้อน ปี 2564โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปลอดภัย ห่างไกลโรคแทรกซ้อน ปี 2564โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5307-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,375.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล โรค NCDsหรือ non-communicable diseases เป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง คือ ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรคและไม่สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้ แต่เป็นโรคที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ซึ่งจะมีการดำเนินโรคอย่างช้าๆ ค่อยๆ สะสมอาการอย่างต่อเนื่อง และเมื่อมีอาการของโรคแล้วมักจะเกิดการเรื้อรังของโรคด้วย จึงอาจจัดว่าโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคเรื้อรังได้ตัวอย่างของโรค NCDs เช่นโรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมองโรคเบาหวานโรคไตเรื้อรัง โรคอ้วนลงพุงเป็นต้น
รพ.สต.ตำบลบ้านควน มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 239 คน โรคเบาหวาน จำนวน 15คน และป่วยทั้งโรคเบาหวานละโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 90คน( กลุ่มป่วยดังกล่าวเป็นกลุ่มที่ได้รับการติดตาม ดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องที่ รพ.สต.ตำบลบ้านควนไม่รวมผู้ป่วยที่รับบริการจากสถานบริการอื่น )โรคเรื้อรังเป็นโรคที่ต้องได้รับการติดตาม เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้ซึ่งรพ.สต.ตำบลบ้านควน มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันได้ดีจำนวน 194 คน คิดเป็นร้อยละ 58.97 และ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีจำนวน 30คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 ซึ่งข้อมูลดังกล่าวยังไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด
นอกจากนี้กลุ่มป่วยดังกล่าว ต้องได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน เช่น ความเสี่ยงต่อการเกิดอัมพฤกษ์อัมพาต ภาวะเบาหวานขึ้นตา ภาวะซึมเศร้า ตรวจฟัน ภาวะไตวายเรื้อรัง และตรวจเท้า ได้รับการดูแลส่งเสริมความรู้ ให้ผู้ป่วยมีความรู้สามารถประเมินและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพตนเองได้ มีพฤติกรรมที่เหมาะสม ห่างไกลจากภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวซึ่งสาเหตุหลักของการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญคือ พฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ในการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหารรสจัด เช่น หวานจัด เค็มจัด อาหารที่มีไขมันสูง อาหารปิ้งย่าง การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก การมีความเครียดสูง การรับประทานยาโดยไม่ปรึกษาแพทย์ เป็นต้น
ดังนั้นรพ.สต.ตำบลบ้านควน จึงจัดโครงการการผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปลอดภัย ห่างไกลโรคแทรกซ้อน ปี 2564 ขึ้นเพื่อให้กลุ่มป่วยที่อยู่ในความดูแลของ รพ.สต.ตำบลบ้านควน ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ได้รับการติดตามภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะกลุ่มที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้กลับไปปฏิบัติใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมความรู้ ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต ได้รับการส่งเสริมความรู้ เฝ้าระวัง ภาวะสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทาง ตา,เท้า และภาวะซึมเศร้า
  4. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการส่งต่อ
  5. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่ติดเตียง ได้รับการดูแลติดตามสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันและระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
  2. อบรมให้ความรู้ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ที่มีภาวะไตวายเรื้อรังระยะ3aและ3b
  3. อบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ( คัดกรองการมองเห็นเบื้องต้น , ภาวะซึมเศร้า และ ตรวจเท้า )โดยมีการจัดกิจกรรมแบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 1 วัน
  4. ติดตามภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่นอนติดเตียง โดยแกนนำ อสม.รพ.สต.ตำบลบ้านควน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 95
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต ได้รับการส่งเสริมความรู้ เฝ้าระวัง ภาวะสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม
3.ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทาง ตา,เท้า และภาวะซึมเศร้า
4.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการส่งต่อ
5.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่ติดเตียง ได้รับการดูแลติดตามสุขภาพอย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมความรู้ ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
58.97 60.00 60.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต ได้รับการส่งเสริมความรู้ เฝ้าระวัง ภาวะสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ที่มีภาวะไตวายเรื้อรังระยะ 3a และ 3b สามารถควบคุมโรคได้ ไม่รุนแรงมากขึ้น
50.00 100.00 90.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทาง ตา,เท้า และภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทาง ตา,เท้า และภาวะซึมเศร้า
66.96 100.00 100.00

 

4 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการส่งต่อ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการส่งต่อ
0.00 100.00 100.00

 

5 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่ติดเตียง ได้รับการดูแลติดตามสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่ติดเตียง ได้รับการดูแลติดตามสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
80.00 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 95 95
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 95 95
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมความรู้ ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต ได้รับการส่งเสริมความรู้ เฝ้าระวัง ภาวะสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน  ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทาง ตา,เท้า และภาวะซึมเศร้า (4) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการส่งต่อ (5) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่ติดเตียง ได้รับการดูแลติดตามสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้  ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน  ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันและระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ (2) อบรมให้ความรู้ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ที่มีภาวะไตวายเรื้อรังระยะ3aและ3b (3) อบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ( คัดกรองการมองเห็นเบื้องต้น , ภาวะซึมเศร้า และ ตรวจเท้า )โดยมีการจัดกิจกรรมแบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 1 วัน (4) ติดตามภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่นอนติดเตียง  โดยแกนนำ อสม.รพ.สต.ตำบลบ้านควน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปลอดภัย ห่างไกลโรคแทรกซ้อน ปี 2564โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5307-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปทุมมาศ โลหะจินดา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด