โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า ตำบลนาประดู่
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า ตำบลนาประดู่ ”
ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่2
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า ตำบลนาประดู่
ที่อยู่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2981-2-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า ตำบลนาประดู่ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า ตำบลนาประดู่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า ตำบลนาประดู่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L2981-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคที่เกิดจากการทำงาน หรือโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ เป็นปัญหาสำคัญที่มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคลครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติเมื่อเกิดกับบุคคลที่อยู่ในวัยทำงานและมีบทบาทความรับผิดชอบสำคัญของครอบครัวย่อมส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อครอบครัวและสังคม ทั้งในทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดกับผู้ประกอบอาชีพ (แรงงานนอกระบบ) เช่น กลุ่มโรงทอผ้า ร้านเสริมสวย บริการซัก – รีด ร้านอาหาร ขายเสื้อผ้า รับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้า รับจ้างแต่งหน้า ซ่อมรถยนต์ ซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น เพราะผู้ที่ประกอบอาชีพเหล่านี้เป็นเจ้าของกิจการเองไม่ได้รับค่าจ้างจากผู้อื่นในลักษณะเงินเดือนหรือค่าแรงประจำ และรับผิดชอบต่อการดำเนินการทั้งในส่วนของกำไร หรือขาดทุน หากเกิดการเจ็บป่วยหรือประสบอุบัติเหตุอันตรายไม่สามารถทำงานได้ ย่อมขาดรายได้ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในครัวเรือนและคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัว โรคจากการทำงาน หรือโรคจากการประกอบอาชีพคือโรคใด ๆ (อาจเป็นได้ทั้งโรคเฉียบพลันหรือโรคเรื้อรั้ง)อันมีสาเหตุเนื่องมาจากการประกอบอาชีพ หรือการดำเนินกิจกรรมอื่นใดซึ่งเกี่ยวเนื่องกับอาชีพ เช่น อาการปวดหลัง ปวดกล้ามเนื้อ พิษจากสารตะกั่ว สารเคมี โรคทางเดินหายใจ เครียด เป็นต้น
การสำรวจสาเหตุของการได้รับบาดเจ็ดและอุบัติเหตุจากการทำงานของกลุ่มแรงงานนอกระบบในปี พ.ศ. 2544 มีจำนวนผู้ได้รับบาดเจ็บและเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน 3.7 ล้านคน โดยสาเหตุที่ทำให้เกิดการบาดเจ็ดมากที่สุดมาจากการถูกของมีคมบาดถึงร้อยละ 67.3 รองลงมา คือการพลัดตกหกล้ม ร้อยละ 12.3 สาเหตุจากการชนและการกระแทกคิดเป็นร้อยละ 8.7 สาเหตุจากไฟไหม้หรือน้ำร้อนลวก ร้อยละ 4.8 การสัมผัสสารเคมี ร้อยละ 3.0 เกิดอุบัติเหตุจากยานพาหนะ ร้อยละ 2.9 และสาเหตุจากไฟฟ้าช็อต ร้อยละ 0.6 ปัญหาทางด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของแรงการนอกระบบที่มีปัญหาจากความไม่ปลอดภัยในการทำงานมากที่สุดเกิดจากได้รับหรือสัมผัสสารเคมีที่อันตราย ร้อยละ 65.0 และเกิดจากเครื่องจักรเครื่องมือที่เป็นอันตราย ร้อยละ 21.8 และปัญหาที่เกิดจากการได้รัยอันตรายต่อระบบหูและระบบตา คิดเป็นร้อยละ 6.1 สำหรับปัญหาจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน การทำงานในท่าทางซ้ำ ไม่มีการเปลี่ยนท่าทางในการทำงาน ร้อยละ 44.2 รองลงมาคือ ฝุ่น ละออง ควัน กลิ่น ร้อยละ 17.8 และมีแสงสว่างในการทำงานไม่เพียงพอ ร้อยละ 17.0
ปัญหาด้านสุขภาพในกลุ่มแรงงานนอกระบบ จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า มีเวลาการทำงานที่ไม่แน่นอน มีปัญหาด้านความไม่ปลอดภัยที่เกิดจากการทำงาน และมีสภาพแวดล้อมการทำงานที่ไม่เหมาะสมมีการทำงานในสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษจากการใช้สารฟอกย้อมผ้าและไม่มีสวัสดิการด้านสุขภาพในกลุ่มอาชีพรับจ้างเย็บผ้า ปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ และมีปัญหาสูงสุดคือด้านการยศาสตร์ โดยเกิดจากลักษณะท่าทางการทำงาน การทำงานเป็นเวลานาน ไม่มีเวลาพักผ่อน ไม่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานขาดการฝึกอบรม มีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อเนื่องจากการทำงาน จากการทบทวนปัญหาจากการทำงานของแรงงานนอกระบบโดยทั่วไปจะเห็นได้ว่ามีปัญหาด้านสุขภาพ ด้านสวัสดิการในการทำงาน การทำงานในสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำต่อการปฏิบัติงาน ทำให้เกิดการเจ็บป่วย โรคจากการทำงานหรือเกิดอุบัติเหตุ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการศึกษาความเสี่ยงด้านสุขภาพในกลุ่มแรงงานนอกระบบเฉพาะกลุ่มอาชีพ เพื่อนำลักษณะการทำงานที่อาจทำให้มีความเสี่ยงจากการทำงานและนำข้อมูลที่ได้ไปพัฒนาการบริการด้านสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคจากการทำงานสำหรับแรงงานนอกระบบให้ครอบคลุมตามความเสี่ยงในการทำงาน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ
- เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน
- เพื่อลดภาวะเครียดวิตกกังวลในผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้า
- อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อหาความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมของการประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้า
- อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดฐานข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้าในพื้นที่ตำบลนาประดู่
- เกิดรูปแบบการจัดการความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้าในพื้นที่ตำบลนาประดู่
- กลุ่มผู้ประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้าในพื้นที่ตำบลนาประดู่เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ ลดลง
50.00
25.00
2
เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนมาตราการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน เพิ่มขึ้น
0.00
5.00
3
เพื่อลดภาวะเครียดวิตกกังวลในผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ประกอบอาชีพเสี่ยงที่มีภาวะเครียด วิตกกังวล
50.00
25.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน (3) เพื่อลดภาวะเครียดวิตกกังวลในผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้า (2) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อหาความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมของการประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้า (3) อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า ตำบลนาประดู่ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2981-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่2 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า ตำบลนาประดู่ ”
ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่2
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2981-2-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า ตำบลนาประดู่ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า ตำบลนาประดู่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า ตำบลนาประดู่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L2981-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคที่เกิดจากการทำงาน หรือโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ เป็นปัญหาสำคัญที่มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคลครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติเมื่อเกิดกับบุคคลที่อยู่ในวัยทำงานและมีบทบาทความรับผิดชอบสำคัญของครอบครัวย่อมส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อครอบครัวและสังคม ทั้งในทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดกับผู้ประกอบอาชีพ (แรงงานนอกระบบ) เช่น กลุ่มโรงทอผ้า ร้านเสริมสวย บริการซัก – รีด ร้านอาหาร ขายเสื้อผ้า รับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้า รับจ้างแต่งหน้า ซ่อมรถยนต์ ซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น เพราะผู้ที่ประกอบอาชีพเหล่านี้เป็นเจ้าของกิจการเองไม่ได้รับค่าจ้างจากผู้อื่นในลักษณะเงินเดือนหรือค่าแรงประจำ และรับผิดชอบต่อการดำเนินการทั้งในส่วนของกำไร หรือขาดทุน หากเกิดการเจ็บป่วยหรือประสบอุบัติเหตุอันตรายไม่สามารถทำงานได้ ย่อมขาดรายได้ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในครัวเรือนและคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัว โรคจากการทำงาน หรือโรคจากการประกอบอาชีพคือโรคใด ๆ (อาจเป็นได้ทั้งโรคเฉียบพลันหรือโรคเรื้อรั้ง)อันมีสาเหตุเนื่องมาจากการประกอบอาชีพ หรือการดำเนินกิจกรรมอื่นใดซึ่งเกี่ยวเนื่องกับอาชีพ เช่น อาการปวดหลัง ปวดกล้ามเนื้อ พิษจากสารตะกั่ว สารเคมี โรคทางเดินหายใจ เครียด เป็นต้น การสำรวจสาเหตุของการได้รับบาดเจ็ดและอุบัติเหตุจากการทำงานของกลุ่มแรงงานนอกระบบในปี พ.ศ. 2544 มีจำนวนผู้ได้รับบาดเจ็บและเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน 3.7 ล้านคน โดยสาเหตุที่ทำให้เกิดการบาดเจ็ดมากที่สุดมาจากการถูกของมีคมบาดถึงร้อยละ 67.3 รองลงมา คือการพลัดตกหกล้ม ร้อยละ 12.3 สาเหตุจากการชนและการกระแทกคิดเป็นร้อยละ 8.7 สาเหตุจากไฟไหม้หรือน้ำร้อนลวก ร้อยละ 4.8 การสัมผัสสารเคมี ร้อยละ 3.0 เกิดอุบัติเหตุจากยานพาหนะ ร้อยละ 2.9 และสาเหตุจากไฟฟ้าช็อต ร้อยละ 0.6 ปัญหาทางด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของแรงการนอกระบบที่มีปัญหาจากความไม่ปลอดภัยในการทำงานมากที่สุดเกิดจากได้รับหรือสัมผัสสารเคมีที่อันตราย ร้อยละ 65.0 และเกิดจากเครื่องจักรเครื่องมือที่เป็นอันตราย ร้อยละ 21.8 และปัญหาที่เกิดจากการได้รัยอันตรายต่อระบบหูและระบบตา คิดเป็นร้อยละ 6.1 สำหรับปัญหาจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน การทำงานในท่าทางซ้ำ ไม่มีการเปลี่ยนท่าทางในการทำงาน ร้อยละ 44.2 รองลงมาคือ ฝุ่น ละออง ควัน กลิ่น ร้อยละ 17.8 และมีแสงสว่างในการทำงานไม่เพียงพอ ร้อยละ 17.0 ปัญหาด้านสุขภาพในกลุ่มแรงงานนอกระบบ จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า มีเวลาการทำงานที่ไม่แน่นอน มีปัญหาด้านความไม่ปลอดภัยที่เกิดจากการทำงาน และมีสภาพแวดล้อมการทำงานที่ไม่เหมาะสมมีการทำงานในสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษจากการใช้สารฟอกย้อมผ้าและไม่มีสวัสดิการด้านสุขภาพในกลุ่มอาชีพรับจ้างเย็บผ้า ปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ และมีปัญหาสูงสุดคือด้านการยศาสตร์ โดยเกิดจากลักษณะท่าทางการทำงาน การทำงานเป็นเวลานาน ไม่มีเวลาพักผ่อน ไม่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานขาดการฝึกอบรม มีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อเนื่องจากการทำงาน จากการทบทวนปัญหาจากการทำงานของแรงงานนอกระบบโดยทั่วไปจะเห็นได้ว่ามีปัญหาด้านสุขภาพ ด้านสวัสดิการในการทำงาน การทำงานในสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำต่อการปฏิบัติงาน ทำให้เกิดการเจ็บป่วย โรคจากการทำงานหรือเกิดอุบัติเหตุ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการศึกษาความเสี่ยงด้านสุขภาพในกลุ่มแรงงานนอกระบบเฉพาะกลุ่มอาชีพ เพื่อนำลักษณะการทำงานที่อาจทำให้มีความเสี่ยงจากการทำงานและนำข้อมูลที่ได้ไปพัฒนาการบริการด้านสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคจากการทำงานสำหรับแรงงานนอกระบบให้ครอบคลุมตามความเสี่ยงในการทำงาน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ
- เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน
- เพื่อลดภาวะเครียดวิตกกังวลในผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้า
- อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อหาความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมของการประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้า
- อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดฐานข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้าในพื้นที่ตำบลนาประดู่
- เกิดรูปแบบการจัดการความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้าในพื้นที่ตำบลนาประดู่
- กลุ่มผู้ประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้าในพื้นที่ตำบลนาประดู่เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ ตัวชี้วัด : ร้อยละของแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ ลดลง |
50.00 | 25.00 |
|
|
2 | เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน ตัวชี้วัด : มีจำนวนมาตราการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน เพิ่มขึ้น |
0.00 | 5.00 |
|
|
3 | เพื่อลดภาวะเครียดวิตกกังวลในผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ประกอบอาชีพเสี่ยงที่มีภาวะเครียด วิตกกังวล |
50.00 | 25.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน (3) เพื่อลดภาวะเครียดวิตกกังวลในผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้า (2) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อหาความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมของการประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้า (3) อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า ตำบลนาประดู่ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2981-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่2 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......