กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการคนพิการปลอดภัยได้รับการใส่ใจดูแล ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเอนก กลิ่นรส

ชื่อโครงการ โครงการคนพิการปลอดภัยได้รับการใส่ใจดูแล

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2564-L3351-01-09 เลขที่ข้อตกลง 16/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคนพิการปลอดภัยได้รับการใส่ใจดูแล จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคนพิการปลอดภัยได้รับการใส่ใจดูแล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคนพิการปลอดภัยได้รับการใส่ใจดูแล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2564-L3351-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

“คนพิการ”เป็นบุคคลสำคัญกลุ่มหนึ่งในสังคมไทยที่กำลังมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น จากรายงานการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่าในปี 2517 มีคนพิการประมาณร้อยละ 0.5 ของประชากรทั้งหมด เพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 1.7 ในปี 2545 และเกือบร้อยละ 3 ในปี 2550 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละกว่า 1 แสนคน (สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2551) สาเหตุของความพิการมีหลายปัจจัย เช่น พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนที่ไม่เหมาะสม ทั้งการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย จนเป็นบ่อเกิดของความอ้วนและโรคเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ที่ส่งผลให้เกิดความพิการตามมา สาเหตุอีกประการหนึ่งคืออุบัติเหตุ จนที่ส่งผลให้เกิดความพิการตามมา และในปัจจุบันประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุสมบูรณ์แบบ เนื่องจากผู้สูงอายุในประเทศไทยได้เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเพิ่มจาก 1.5 ล้านคน เมื่อปี พ.ศ.2503 เป็นประมาณ 7.4 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2551 และคาดว่าในปี พ.ศ. 2573 จะเพิ่มถึง 17.7 ล้านคน (สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ 2551) ซึ่งวัยสูงอายุเป็นวัยที่อวัยวะต่างๆ มีความเสื่อมทำให้เกิดปัญหาสุขภาพและความพิการตามมาได้ง่าย ปัญหาเหล่านี้ทำให้เกิดความพิการกับกลุ่มประชาชนทุกกลุ่มวัยได้ และทวีความรุนแรงขึ้นส่งผลกระทบต่อตัวคนพิการเอง ครอบครัว และสังคมในอนาคต ปัจจุบันรัฐมีโยบายให้คนพิการได้รับการดูแลที่บ้าน โดยใช้ครอบครัวและชุมชนเป็นฐาน ทั้งนี้เพื่อให้คนพิการได้อยู่ใกล้ชิดกับครอบครัว และสิ่งแวดล้อมที่คุ้นเคยในชุมชน ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลและเพิ่มอัตราการหมุนเวียนเตียงเพื่อรับผู้ป่วยอื่นในโรงพยาบาล เป้าหมายสำคัญของการดูแลสุขภาพคนพิการที่บ้านคือ ให้คนพิการได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมภายในครอบครัวที่อบอุ่นและมีศักยภาพในการดูแลอย่างเพียงพอ และชุมชนมีส่วนร่วมภายใต้สภาพแวดล้อมในบริบทของท้องถิ่น เพื่อให้คนพิการสามารถพึ่งตนเองได้มากที่สุด มีคุณภาพชีวิตที่ดีเต็มตามศักยภาพและมีความสุขตามอัตภาพ (คณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 2550) จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า การดูแลคนพิการเป็นภารกิจยาวนานที่ผู้ดูแลและครอบครัวต้องรับผิดชอบ บางครั้งอาจเป็นงานที่หนักแลซับซ้อน ต้องอาศัยความรู้ ทักษะ ความพยายามอย่างต่อเนื่อง และปรับตัวต่อบทบาทหน้าที่ตนเอง หากไม่สามารถปรับบทบาทหรือเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลได้ จะทำให้เกิดผลกระทบต่อคนพิการ กล่าวคือ คนพิการต้องเข้ารักษาโรงพยาบาลซ้ำ เกิดความพิการซ้ำซ้อนหรือเสียชีวิตก่อนเวลาอันสมควร จากการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศพบว่า ผู้ดูแล ครอบครัวและชุมชน มีความสำคัญมากต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการ เนื่องจากการดูแล/ช่วยเหลือ/ส่งเสริมและสนับสนุนจากครอบครัวและชุมชนจะทำให้สุขภาพทางกาย ทางใจ ทางจิตวิญาณและทางสังคมดีขึ้น (วรรณรัตน์ ลาวัง 2549) หากไม่ได้รับการดูแลดังกล่าว จะทำให้คนพิการมีคุณภาพชีวิตไม่ดีตามมา อีกทั้งทำให้ผู้ดูแลและครอบครัวเกิดความเครียด มีปัญหาสุขภาพทั้งองค์รวม ซึ่งกระทบต่อคุณภาพชีวิตของสมาชิกครอบครัวตามมา (นันทวรรณ พุทธาวรรณ 2550) การสร้างกลุ่มภาคีเครือข่ายในชุมชนเพื่อการดูแลคนพิการ เป็นกลวิธีหนึ่งที่สำคัญในการสนับสนุนให้คนพิการและครอบครัว ที่เน้นบุคลากรด้านสุขภาพแสดงบทบาทเชิงรุกที่ชัดเจน โดยการสร้างและพัฒนาศักยภาพของภาคีเครือข่ายช่วยเหลือกันในชุมชน (สำนักนโยบายและยุทศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2555) ดังนั้น รูปแบบการดูแลสุขภาพคนพิการในชุมชน โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในลักษณะภาคีเครือข่ายการดูแลจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งซึ่งสอดคล้องกับสิทธิ กฎหมาย และกรอบการพัฒนาที่สำคัญคือ มีลักษณะเป็นองค์รวมผสมผสานครอบคลุมทุกมิติการดูแล และต่อเนื่องเชื่อมโยง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้พิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยญาติหรือผู้ดูแล
  2. เพื่อให้ญาติหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ในการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
  3. เพื่อให้ผู้พิการมีความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้น ทุกคน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมหรือผู้ดูแลผู้พิการเพ่ื่อฟื้นฟูสมรรถภาพ (อบรม 2 รุ่นๆละ 56 คน)
  2. ติดตามและประเมินผลการเพิ่มขึ้นของ ADL คนพิการ
  3. เรียนรู้ร่วมกัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 112
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ร้อยละ 80 ของญาติหรือผู้ดูแลคนพิการ มีทักษะการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง เหมาะสม
  • คนพิการมีความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมหรือผู้ดูแลผู้พิการเพ่ื่อฟื้นฟูสมรรถภาพ (อบรม 2 รุ่นๆละ 56 คน)

วันที่ 17 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • อบรมเชิงปฎิบัติการผู้ดูแลคนพิการเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพจำนวน 112 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ญาติหรือผู้ดูแลผู้าสูงอายุมีความรู้ในการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการทุกคน

 

0 0

2. เรียนรู้ร่วมกัน

วันที่ 30 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้เนื่องจากสถานการณ์โรคโควิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้เนื่องจากสถานการณ์โรคโควิด

 

0 0

3. ติดตามและประเมินผลการเพิ่มขึ้นของ ADL คนพิการ

วันที่ 30 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ติดตามและประเมินผลการเพิ่มขึ้นของความสารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน คนพิการ ทุกคน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้พิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยญาติหรือผู้ดูแลทุกคน
  • ผู้พิการมีความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10.71

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินโครงการผู้พิการปลอภัยได้รับการใส่ใจดูแล กลุ่มเป้าหมายคือผู้ดูแลคนพิการ จำนวน 112 คน เพื่อให้คนพิการได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมภายในครอบครัวที่อบอุ่นและมีศักยภาพในการดูแลอย่างเพียงพอและชุมชนมีส่วนร่วมภายใต้สภาพแวดล้อมในบริบทของท้องถิ่นเพำื่อให้คนพิการสามารถพึ่งตนเองได้มากที่สุดมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามศักยภาพและมีความสุขตามอัตภาพ ซึ่งการอบรมเชิงปฎิบัติการเพิ่มทักษะ ความรู้ ให้การดูแลคนพิการ ส่งผลให้ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10.71

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้พิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยญาติหรือผู้ดูแล
ตัวชี้วัด : ผู้พิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยญาติหรือผู้ดูแลทุกคน
80.00 112.00 112.00

 

2 เพื่อให้ญาติหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ในการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
ตัวชี้วัด : ญาติหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ในการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการทุกคน
80.00 112.00 112.00

 

3 เพื่อให้ผู้พิการมีความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้น ทุกคน
ตัวชี้วัด : ผู้พิการมีความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้น ทุกคน
100.00 112.00 112.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 112 112
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 112 112
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้พิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยญาติหรือผู้ดูแล (2) เพื่อให้ญาติหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ในการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ (3) เพื่อให้ผู้พิการมีความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้น ทุกคน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมหรือผู้ดูแลผู้พิการเพ่ื่อฟื้นฟูสมรรถภาพ (อบรม 2 รุ่นๆละ 56 คน) (2) ติดตามและประเมินผลการเพิ่มขึ้นของ ADL คนพิการ (3) เรียนรู้ร่วมกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคนพิการปลอดภัยได้รับการใส่ใจดูแล จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2564-L3351-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเอนก กลิ่นรส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด