กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายดานิช ดิงปาเนาะ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2480-1-07 เลขที่ข้อตกลง 27/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 ธันวาคม 2564 ถึง 24 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ 2ส อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นตอนเตรียมการดำเนินงาน (2) ขั้นตอนการดำเนินงาน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค 3อ 2ส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันอัตราการป่วยของโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้นทุกปีโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานจากสถานการณ์ของโรคในเขตรับผิดชอบของโงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก โดยข้อมูลกลางปีในปีงบประมาณ 2562 ( ตุลาคม2561 -กันยายน2562 ) มีประชากรทั้งหมด 4,988 คน ประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ทั้งหมด 1,674 คน ได้มีการคัดกรองโรค ทั้งหมด1,638 คน จากการคัดกรองพบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 178 คน กลุ่มสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง 22 คน กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 205 คน และกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน 13 คน จากการซักประวัติรายบุคคลข้อมูล สอดคล้องกับแบบประเมินคือ ผู้ป่วยมีความรู้ แต่ยังขาดทักษะการปฏิบัติสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากตัวผู้ป่วยเอง ขาดแรงกระตุ้นในการจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องและขาดความร่วมมือจากผู้ดูแลเพราะผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุจะต้องมีผู้ที่ดูแลเรื่องการรับประทานยา การประกอบอาหารให้เหมาะกับผู้ป่วยและเป็นแรงกระตุ้น และจัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยปฏิบัติได้จริง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออกจึงมีความมุ่งมั่นในการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานละความดันโลหิตสูง ในชุมชนน่าจะทำให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายและการแลกเปลี่ยนความรู้ได้ดีขึ้นจึงคัดเลือกผู้ป่วยโดยคัดเลือกจากผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุม ระดับ นํ้าตาลในเลือดไม่ดีหรือภาวะแทรกซ้อน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันไม่ค่อยได้ ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้โดยเน้นให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสมตามสภาพแวดล้อมเป็นจริงสอดคล้องกับสภาพสังคมและวิถี ชีวิต ประจำ วันในหมู่บ้าน จะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกว่า ตนเองไม่ผิดแปลกไปจากผู้อื่นในสังคม ทำให้ผู้ป่วยเกิดกำลังใจและมีความพยายามในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมากขึ้นในการค้นหาคัดกรองโรคไม่ติดต่อของตำบลมะรือโบออกทำได้ลำบากเนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพทำสวนยางพาราต้องตื่นนอนเร็วรีบรับประทานอาหารเช้า เพื่อจะได้ไปทำงาน ทำให้ช่วงเวลาในการคัดกรองเป็นไปได้น้อยจึงจำเป็นต้องให้อสม.แต่ละเขตรับผิดออกคัดกรองเพิ่มเติม นอกจากนี้ประชาชนไม่เห็นความสำคัญของการคัดกรองโรคไม่ติดต่อทำให้พบผู้ป่วยเมื่อมีอาการหนักแล้ว ซึ่งกลวิธีต่างๆนี้น่าจะช่วยให้ลดจำนวนผู้ป่วยลงและให้ประชาชนได้ตระหนักถึงอันตรายของการเกิดโรค เพื่อการดูแลตนเองและครอบครัวไม่ให้มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออกและองค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออกเห็นความสำคัญเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงใหม่ไม่เป็นโรคจึงได้พัฒนาโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค กิจกรรมสำคัญที่ใช้ในการดำเนินโครงการ การประชุมค้นหากลุ่มเป้าหมายที่สมัครใจ การจัดกิจกรรมเรียนรู้การดูแลสุขภาพองค์รวมทั้งผู้ป่วยและญาติในครอบครัวที่จะมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน และพฤติกรรมการออกกำลังกาย โดยมีทีมอสม.ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออกเป็นกลไกพี่เลี้ยงในการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีการจัดกิจกรรมประกวด บุคคลต้นแบบดูแลสุขภาพ การประกวดออกกำลังกาย เพื่อสร้างกระแสการสร้างสุขภาพทั้งนี้มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ 2ส อย่างถูกต้องและเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขั้นตอนเตรียมการดำเนินงาน
  2. ขั้นตอนการดำเนินงาน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค 3อ 2ส

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ 2ส อย่างถูกต้องและเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ขั้นตอนเตรียมการดำเนินงาน

วันที่ 24 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1 ขั้นเตรียมการ
1.1 สำรวจและรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการเตรียมวัสดุ/อุปกรณ์
1.2 ประชุมชี้แจง อสม./จนท.เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับกลุ่มเป้าหมาย 2 ขั้นดำเนินการ
2.1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค 3อ 2ส ตามวิถีชุมชนตำบลมะรือโบออก ในกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และกลุ่มป่วยในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการ
2.2 ประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ และแบบแบบทดสอบความรู้สุขบัญญัติแห่งชาติของกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
2.3 ประกวดบุคคลต้นแบบสุขภาพดีโดยทีมสหวิชาชีพของ รพ.สต.
3 ขั้นประเมินผล
3.1 ประเมินจำนวนผู้สนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ในแต่ละครั้งของกิจกรรม มากกว่าร้อยละ 80 ของกิจกรรมที่จัดขึ้นสำหรับแต่ละกลุ่ม 3.2 ประเมินผลพฤติกรรมสุขภาพจากแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพของกรมสนับสนุน บริการสุขภาพ ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เปรียบเทียบก่อน-หลังการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
3.3 ผลการประกวดบุคคลต้นแบบสุขภาพดี อย่างน้อย 1 คนต่อหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สำรวจข้อมูลผู้ป่วยโรคเบาหวาน

 

0 0

2. ขั้นตอนการดำเนินงาน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค 3อ 2ส

วันที่ 24 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

8.30 น.-9.00 น.ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 9.00 น. -10.00 น. ให้ความรู้เรื่อง 3อ 2ส 10.0 น.-10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 11.0 10.30 น.-11.30 น. ให้ความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการเฉพาะโรค 11.30 น.-12.00 น. ซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความรู้และร่วมกันแสดงความคิดเห็น 12.00 น.-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น.-14.00 น. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยตัวแทนกลุ่มเป้าหมาย 14.00 น. -14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.30 น.-15.30 น.ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 15.30 น.-16.30 น. ซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความรู้และร่วมกันแสดงความคิดเห็น 16.30 น. เสร็จโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค ค่างบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ และปฏิบัติตนเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ 2ส อย่างถูกต้อง

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ 2ส อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : มากว่าร้อยละ 50 ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีค่า HbA1C ครั้งสุดท้ายน้อยกว่า 7 mg%
50.00 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ 2ส อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นตอนเตรียมการดำเนินงาน (2) ขั้นตอนการดำเนินงาน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค 3อ 2ส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2480-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายดานิช ดิงปาเนาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด