กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โรงเรียนบ้านตูแตหรำ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ เพื่อพัฒนาสุขภาพกายให้แข็งแรงเหมาะสมกับวัย ส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนในส่วนต่างๆให้ดียิ่งขึ้น นักเรียนยังได้รู้จักดูแลตนเองเฝ้าระวัง ป้องกัน เกี่ยวกับโรคติดต่อ โรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ และป้องกันตนเองจากยาเสพติด ผลการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ เพื่อพัฒนาส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียน การเฝ้าระวังป้องกันตนเองจากโรคโควิด-๑๙ และรณรงค์เกี่ยวกับปัญหายาเสพติด บรรลุตามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด ดังนี้
๑. นักเรียนทุกคนมีผลการประเมินความฉลาดทางอารมณ์ในระดับปกติ ร้อยละ ๗๓.๘๔ นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
๒. นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ๓. นักเรียนทุกคนไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด จากการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำได้รับผลการพัฒนาที่ดีขึ้นในการดูแลสุขภาพกาย และสุขภาพจิตของนักเรียน จึงส่งผลให้การเรียนรู้ของนักเรียนดีขึ้นด้วย

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

๑. ห้องประชุมในการทำกิจกรรมเล็กเกินไป
๒.นักเรียนบางคนทำกิจกรรมไม่ทันตามเวลาที่กำหนด
๓. ระยะเวลาในการอบรมน้อยเกินไป
๔. บางกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ