กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้21 มีนาคม 2565
21
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

รายละเอียดกิจกรรม

  1. รายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

  2. จัดทำรายงานโครงการเสนอกองทุนตำบลอย่างน้อย 2 เล่ม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีรูปเล่มรายงานผล 4 เล่ม

สร้างองค์ความรู้ให้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน17 พฤศจิกายน 2564
17
พฤศจิกายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

รายละเอียดกิจกรรม

  1. เฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก

  2. ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก แก่นักเรียน ผู้ปกครองเด็ก ที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ

  3. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาโภชนาการแต่ละราย ดังนี้

เด็กมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์

  1. ปรับ – เปลี่ยนมากินอาหารที่หลากหลาย ครบ 5 หมู่

เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์

  1. ขยับ- กินเท่าไหร่ ต้องใช้ให้หมด เพิ่มการเคลื่อนไหว

    ร่างกายให้กับเด็ก ส่งเสริมให้เด็กออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

  2. เปลี่ยน- เปลี่ยนมากินอาหารที่มีความหวาน มัน เค็ม แต่พอดี

เด็กที่มีส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์

  1. ส่งเสริมให้เด็กบริโภคนมรสจืด

  2. ส่งเสริมให้เด็กออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

  3. ติดตามเด็กที่มีปัญหาโภชนาการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็กแก่นักเรียน ผู้ปกครองเด็ก ที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 67.13 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 83.94 นักเรียนมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 84.21 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ นักเรียนมีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ นักเรียนมีส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไขร้อยละ 100

ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดโรค1 ตุลาคม 2564
1
ตุลาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

รายละเอียดกิจกรรม

1.ปรับปรุงสถานที่ในโรงเรียน เตรียมสถานที่เพาะปลูกผัก/สมุนไพร

2.นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนร่วมกันปลูกผัก สมุนไพรและดูแลผัก สมุนไพร ตลอดจนการเก็บเกี่ยว

3.ทำน้ำหมักชีวภาพ และเรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพร

4.นำผักที่ปลูกส่งเสริมเป็นอาหารกลางวัน และนำสมุนไพรมาแปรรูป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 66.11 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84.11 นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 90.09

ให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย1 ตุลาคม 2564
1
ตุลาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

รายละเอียดกิจกรรม

  1. ให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย การแปรรูปสมุนไพร และนำมาใช้ประโยชน์

  2. นำผักที่ปลูกมาประกอบอาหารกลางวันให้กับเด็กนักเรียน เพื่อให้เด็กได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 66.11 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84.11 นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 90.09

อบรมให้ความรู้นักเรียนและผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน1 กุมภาพันธ์ 2564
1
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

รายละเอียดกิจกรรม

  1. บรรยายให้ความรู้เรื่องดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน

  2. การแปรงฟันที่ถูกวิธี

  3. สร้างแกนนำนักเรียน

  4. ให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยงทุกวัน

  5. จัดรายการเสียงตามสายให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก

  6. จัดกิจกรรมตอบปัญหาสุขภาพช่องปาก

  7. จัดประกวดหนูน้อยฟันดี

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการทดสอบก่อนการอบรมให้ความรู้เรื่องดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 67.50 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป้นร้อยละ 83.42 นักเรียนแปลงฟันได้ถูกวิธีขึ้น มีแกนนำนักเรียน จำนวน 8 คน จัดรายการเสียงตามสายให้ความรู้และประกวดหนูน้อยฟันดี ส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันดีขึ้น