กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.อบรม
กิจกรรมที่ 1.1 สุขภาพช่องปากและฟัน โดยอบรมบรรยายให้ความรู้เรื่องสุขภาพช่องปากและฟันการแปรงฟันที่ถูกวิธี สร้างแกนนำนักเรียน ให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยงทุกวัน จัดรายการเสียงตามสายให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก จัดกิจกรรมตอบปัญหาสุขภาพช่องปาก และจัดประกวดหนูน้อยฟันดีโดยมีกลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ป.1-ป.2 จำนวน 90 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 30 คน ครู บุคลากร จำนวน 10 คน และตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 100 มีการเฝ้าระวังและติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน นักเรียนร้อยละ 70 มีภาวะฟันผุลดลง นักเรียน ครูและผู้ปกครองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากละฟัน พบว่า มีการเฝ้าระวังและติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ร้อยละ 100 นักเรียนร้อยละ 70 มีภาวะฟันผุลดลง ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 67.50 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 83.42
กิจกรรมที่ 1.2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก แก่นักเรียน ผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการปรับเปลี่ยนพฟติกรรมเด็กที่มีปัญหาโภชนาการแต่ละราย ส่งเสริมให้เด็กบริโภคนมรสจืด โดยมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 94 คน และตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียนและผู้ปกครองของนักเรียน ที่มีปัญหาทุพโภชนาการร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ นักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในสภาวะปกติ นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกตินักเรียนที่มีส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไข ร้อยละ 100 พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 67.13 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 83.94 นักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 84.21 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในสภาวะปกติ นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ นักเรียนที่มีส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไข ร้อยละ 100
กิจกรรมที่ 1.3 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย โดยให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย การแปรรูปสมุนไพร และนำมาใช้ประโยชน์ นำผักที่ปลูกมาประกอบอาหารกลางวันให้กับเด็กนักเรียนเพื่อให้เด็กได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษ โดยมีกลุ่มเป้าหมายนักเรียน ป.1-ป.6 จำนวน 40 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 20 คน ครู บุคลากร จำนวน 10 คน และมีตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียน ผู้ปกครองและครู ร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและการนำสมุนไพรมาแปรรูปและใช้ประโยชน์ นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 66.11 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84.11 นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90.09
2. ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดโรค
กิจกรรมที่ 2.1 ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดโรค ปรับปรุงสถานที่ในโรงเรียน เตรียมสถานที่เพาะปลูกผัก/สมุนไพร นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนร่วมกันปลูกผัก สมุนไพรและดูแลผัก สมุนไพรตลอดจนการเก็บเกี่ยวทำน้ำหมักชีวภาพ และเรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพร นำผักที่ปลูกส่งเสริมเป็นอาหารกลางวันและนำสมุนไพรมาแปรรูป โดยมีกลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ป.1-ป.6 จำนวน 40 คน ผู้ปกครองนักเรียนจำนวน 20 คน ครู บุคลากร จำนวน 10 คน และมีตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียน ผู้ปกครองและครู ร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและการนำสมุนไพรมาแปรรูปและใช้ประโยชน์นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป้นร้อยละ 66.11 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84.11 นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้นร้อยละ 90.09

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี และมีอัตราฟันผุลดลง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 มีการเฝ้าระวังและติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน 2. นักเรียนร้อยละ 70 มีภาวะฟันผุลดลง 3. นักเรียน ครูและผู้ปกครองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากและฟัน
100.00 83.42

 

2 เพื่อแก้ไข ส่งเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนและผู้ปกครองของนักเรียน ที่มีปัญหาทุพโภชนาการร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ 2. นักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ 3. นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ 4. นักเรียนที่มีความสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไขร้อยละ 100
100.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สมุนไพรไทยและให้นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียน ผู้ปกครองและครู ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและการนำสมุนไพรมาแปรรูปและใช้ประโยชน์ 2. นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90 90
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครู 10 10
ผู้ปกครอง 30 30

บทคัดย่อ*

โครงการเด็กปิใหญ่สุขภาพดี ชีวีปลอดโรค ของโรงเรียนบ้านปิใหญ่ ปีการศึกษา 2564 ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีและมีอัตราฟันผุลดลง 2. เพื่อแก้ไข ส่งเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ 3. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สมุนไพรไทยและให้นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น มีกิจกรรมดำเนินการ
1.อบรม
กิจกรรมที่ 1.1 สุขภาพช่องปากและฟัน โดยอบรมบรรยายให้ความรู้เรื่องสุขภาพช่องปากและฟันการแปรงฟันที่ถูกวิธี สร้างแกนนำนักเรียน ให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยงทุกวัน จัดรายการเสียงตามสายให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก จัดกิจกรรมตอบปัญหาสุขภาพช่องปาก และจัดประกวดหนูน้อยฟันดีโดยมีกลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ป.1-ป.2 จำนวน 90 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 30 คน ครู บุคลากร จำนวน 10 คน และตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 100 มีการเฝ้าระวังและติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน นักเรียนร้อยละ 70 มีภาวะฟันผุลดลง นักเรียน ครูและผู้ปกครองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากละฟัน พบว่า มีการเฝ้าระวังและติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ร้อยละ 100 นักเรียนร้อยละ 70 มีภาวะฟันผุลดลง ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 67.50 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 83.42
กิจกรรมที่ 1.2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก แก่นักเรียน ผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการปรับเปลี่ยนพฟติกรรมเด็กที่มีปัญหาโภชนาการแต่ละราย ส่งเสริมให้เด็กบริโภคนมรสจืด โดยมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 94 คน และตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียนและผู้ปกครองของนักเรียน ที่มีปัญหาทุพโภชนาการร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ นักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในสภาวะปกติ นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกตินักเรียนที่มีส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไข ร้อยละ 100 พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 67.13 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 83.94 นักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 84.21 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในสภาวะปกติ นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ นักเรียนที่มีส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไข ร้อยละ 100
กิจกรรมที่ 1.3 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย โดยให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย การแปรรูปสมุนไพร และนำมาใช้ประโยชน์ นำผักที่ปลูกมาประกอบอาหารกลางวันให้กับเด็กนักเรียนเพื่อให้เด็กได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษ โดยมีกลุ่มเป้าหมายนักเรียน ป.1-ป.6 จำนวน 40 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 20 คน ครู บุคลากร จำนวน 10 คน และมีตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียน ผู้ปกครองและครู ร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและการนำสมุนไพรมาแปรรูปและใช้ประโยชน์ นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 66.11 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84.11 นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90.09
2. ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดโรค
กิจกรรมที่ 2.1 ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดโรค ปรับปรุงสถานที่ในโรงเรียน เตรียมสถานที่เพาะปลูกผัก/สมุนไพร นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนร่วมกันปลูกผัก สมุนไพรและดูแลผัก สมุนไพรตลอดจนการเก็บเกี่ยวทำน้ำหมักชีวภาพ และเรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพร นำผักที่ปลูกส่งเสริมเป็นอาหารกลางวันและนำสมุนไพรมาแปรรูป โดยมีกลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ป.1-ป.6 จำนวน 40 คน ผู้ปกครองนักเรียนจำนวน 20 คน ครู บุคลากร จำนวน 10 คน และมีตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียน ผู้ปกครองและครู ร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและการนำสมุนไพรมาแปรรูปและใช้ประโยชน์นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป้นร้อยละ 66.11 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84.11 นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้นร้อยละ 90.09
โรงเรียนได้ดำเนินการตามระบบ PDCA โดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนและวิทยากรจากภายนอก มาจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมให้บรรลุตามเป้าหมาย เห็นได้จากนักเรียน ผู้ปกครอง ในชุมชนมีการแก้ไข ส่งเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น โดยใช้กระบวนการและความรู้ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมในโครงการสามารถทำให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันดีขึ้น ภาวะทุพโภชนาการลดลง นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ รู้จักนำสมุนไพรไปแปรรูปและใช้ประโยชน์

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh