กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก


“ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคเบาหวาน หมู่ 3 บ้านพลีใต้ ปีงบประมาณ 2564 ”

หมู่ 3 บ้านพลีใต้ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายเจะอุเส็น โต๊ะสา

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคเบาหวาน หมู่ 3 บ้านพลีใต้ ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ หมู่ 3 บ้านพลีใต้ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7892-2-.... เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคเบาหวาน หมู่ 3 บ้านพลีใต้ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 3 บ้านพลีใต้ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคเบาหวาน หมู่ 3 บ้านพลีใต้ ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคเบาหวาน หมู่ 3 บ้านพลีใต้ ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 3 บ้านพลีใต้ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7892-2-.... ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,640.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบัน ประเทศไทยยึดหลักเกณฑ์ตามสมาคมเบาหวานแห่งประเทศสหรัฐอเมริกาในการจำแนกผู้ป่วยโรคเบาหวานด้วยการตรวจปริมาณน้ำตาลในเลือด หากผลการตรวจหลังงดอาหารและเครื่องดื่มมีน้ำตาลอยู่กระแสเลือดไม่เกิน 100 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร แสดงว่าระดับน้ำตาลในเลือดปกติ โรคเบาหวานเป็นโรคที่ส่งผลให้ผู้ป่วยมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงมากกว่าปกติ หากไม่มีการควบคุมในเรื่องของการรับประทานอาหารและดูแลรักษาสุขภาพอย่างถูกวิธี ปล่อยให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นเป็นเวลานาน จะส่งผลต่อเส้นเลือดที่นำสารอาหารไปเลี้ยงอวัยวะในร่างกายจนนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ทั้งโรคแทรกซ้อนชนิดที่เกิดกับเส้นเลือดขนาดเล็ก เช่น เบาหวานขึ้นตา โรคไต เป็นต้น หรือโรคแทรกซ้อนชนิดที่เกิดกับเส้นเลือดขนาดใหญ่ เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเส้นเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน เป็นต้น รวมไปถึงโรคแทรกซ้อนที่ระบบประสาทและที่สามารถทำให้ผู้ป่วยต้องสูญเสียอวัยวะบางส่วน นอกจากนี้สตรีมีครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวานจะเพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะครรภ์เป็นพิษ การแท้งบุตรได้ การค้นหาและการตรวจสุขภาพของประชาชนตามกลุ่มอายุตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยสูงอายุเป็นภารกิจในการดำเนินงานสร้างหลักสุขภาพถ้วนหน้าที่มุ่งเน้นให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดีสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพมากขึ้น โดยเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ และถือว่าสุขภาพเป็นเรื่องของประชาชนทุกคน สำหรับการตรวจสุขภาพในกลุ่มอายุต่าง ๆ ได้แก่ วัยทำงาน วัยทอง และวัยสูงอายุเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมเป็นส่วนใหญ่ สิ่งสำคัญของการป้องกันโรคเบาหวานทุกชนิด คือ ต้องคอยหมั่นระวังระดับน้ำตาลในเลือดและคอเลสเตอรอลให้อยู่เกณฑ์ปกติ เน้นการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และสารอาหารครบถ้วน มีกากใยสูง หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่ รวมถึงการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หากเป็นสตรีมีครรภ์ควรเข้ารับการฝากครรภ์ตั้งแต่เนิ่น ๆ พบแพทย์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอ และได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานหากมีความเสี่ยง จากการสำรวจและคาดประมาณจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน พบว่า ประชาชนยังขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพ และรักษาโรค จึงเกิดนโยบายระดับชาติเพื่อควบคุมโรคเหล่านี้ คือ การมุ่งเน้นการตรวจค้นหา คัดกรองสุขภาพของประชาชนและการควบคุมปัจจัยเสี่ยงการเกิดของโรคเป็นสิ่งสำคัญอันดับแรก เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่ตระหนักถึงการดูแลและตรวจสุขภาพเพราะคิดว่าสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่มีอาการของโรค
ประชาชนของหมู่ที่ 3 บ้านพลีใต้ ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานมีทั้งหมด 635 คนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านพลีใต้ ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคเบาหวาน หมู่ที่ 3 บ้านพลีใต้ ปีงบประมาณ 2564 ติดตามผู้ป่วยเบาหวาน ตลอดจนส่งต่อผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเพื่อให้ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปและกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองตามเป้าหมาย
  2. เพื่อส่งเสริมบทบาทของ อสม.ให้ปฏิบัติงานเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน โดยการคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยง/และติดตามผู้ป่วยในพื้นที่รับผิดชอบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 กิจกรรม อสม.เชิงรุก - ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง อย่างน้อย 3 เดือนครั้ง - ติดตามผู้ป่วยโรคเบาหวาน อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง หรือเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินก่อนแจ้งระบบส่งต่อ
  2. 2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ให้สุขศึกษาและคำแนะนำด้านสุขภาพเชิงรุกแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 1
  3. 3. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ให้สุขศึกษาและคำแนะนำด้านสุขภาพเชิงรุกแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 2
  4. 4. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ให้สุขศึกษาและคำแนะนำด้านสุขภาพเชิงรุกแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อาสาสมัครประจำหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่ 20

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อาสาสมัครสาธารณสุขสามารถปฏิบัติงานเชิงรุกในพื้นที่ได้อย่างประสิทธิภาพ
  2. ประชาชนกลุ่มปกติได้รับความรู้ด้านสุขภาพ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในหมู่บ้านได้รับการคัดกรองสุขภาพ ผู้ป่วยโรคเบาหวานในหมู่บ้านได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่องเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินก่อนแจ้งระบบส่งต่อ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนทั่วไปและกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : ประชาชนทั่วไปและกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองตามเป้าหมาย ร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมบทบาทของ อสม.ให้ปฏิบัติงานเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน โดยการคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยง/และติดตามผู้ป่วยในพื้นที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และส่งเสริม ติดตามผู้ป่วยในพื้นที่ตามเป้าหมาย ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
อาสาสมัครประจำหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่ 20

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนทั่วไปและกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองตามเป้าหมาย (2) เพื่อส่งเสริมบทบาทของ อสม.ให้ปฏิบัติงานเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน โดยการคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยง/และติดตามผู้ป่วยในพื้นที่รับผิดชอบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 กิจกรรม อสม.เชิงรุก - ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง อย่างน้อย 3 เดือนครั้ง - ติดตามผู้ป่วยโรคเบาหวาน อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง หรือเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินก่อนแจ้งระบบส่งต่อ (2) 2.  กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ให้สุขศึกษาและคำแนะนำด้านสุขภาพเชิงรุกแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 1 (3) 3.  กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ให้สุขศึกษาและคำแนะนำด้านสุขภาพเชิงรุกแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 2 (4) 4.  กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ให้สุขศึกษาและคำแนะนำด้านสุขภาพเชิงรุกแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคเบาหวาน หมู่ 3 บ้านพลีใต้ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7892-2-....

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเจะอุเส็น โต๊ะสา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด