กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย


“ โครงการติดตามกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง/เบาหวาน ”

ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายแวอาแซ มามะ

ชื่อโครงการ โครงการติดตามกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง/เบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3020-09 เลขที่ข้อตกลง 6/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการติดตามกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง/เบาหวาน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการติดตามกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง/เบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการติดตามกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง/เบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3020-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังเกิดจากความเจริญด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงค่านิยม วิถีชีวิต ซึ่งเดิมคนไทยกินอาหารครบ 3 มื้อ กินอาหารแบบไทยๆ แต่ปัจจุบันมีสิ่งที่เอื่้อต่อการใช้ชีวิตที่สะดวกสบายมากขึ้น มีตลาดนัดขายของอุปโภค บริโภคในพื้นที่หรือพื้นที่ข้างเคียงมากกว่าสัปดาห์ละ 3 วัน มีร้านสะดวกซื้อมากขึ้น มีการโฆษณาชวนเชื่อ มีการเปลี่ยนค่านิยมไปกินอาหารแบบตะวันตก อาหารหวาน มัน เค็ม อาหารจานด่วน อาหารสำเร็๋จรูป ขาดการออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา มีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพเมื่อเกิดการเจ็บป่วยก็เป็นภาระแก่ครอบครัว ชุมชน และประเทศในการดูแลรักษา เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่ายและเศรษฐกิจอย่างมหาศาล การแสดงอาการเนื่องจากความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง จะค่อยสูงขึ้นและร่างกายจะค่อยๆ ปรับตัวให้เข้ากับภาวะความดันโลหิตที่สูงขึ้น ส่วนใหญ่มักจะไม่ค่อยแสดงอาการใดๆ ดังนั้นผู้ป่วยจะไม่ค่อยทราบ หากไม่ได้รับการคัดกรองหรือตรวจวัดความดันโลหิต ยกเว้นในรายที่มีระดับความดันโลหิตสูงมากๆ อาจมีอาการแสดง เช่น ปวดตึงท้ายทอยหรือปวดศีรษะรุนแรง และเนื่องจากคนที่มีระดับความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่มักไม่ค่อยรู้ตัว ดังนั้นโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากความดันโลหิตสูงก็มีตามไปด้วย โดยทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายต่อ หัวใจ ไต ตา และสมอง เป็นสาเหตุการเสียชีวิตได้ ซึ่งโรคเหล่านี้ป้องกันได้ด้วยบุคคลและชุมชนร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมในชุมชน โดยฝ่ายสาธารรสุขให้การสนับสนุนองค์ความรู้ และจัดกระบวนการพัฒนาศักยภาพของชุมชนให้เกิดความตระหนักในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เฝ้าระวังและเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการจัดการดูแลคนในครอบครัว และชุมชน ให้สามารถลดความเสี่ยงจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
    จากการดำเนินงานคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในเขตพื้นที่หมู่ที่ 1-3 ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2563 พบข้อมูลว่า มีประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 924 คน ผลการคัดกรอง ปกติ 834 คน ร้อยละ 90.65 กลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วย จำนวน 71 คน ร้อยละ 8.51 ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 1,030 คน ร้อยละ 91.56 พบกลุ่มปกติ จำนวน 718 คน ร้อยละ 69.7 เสี่ยงหรือสงสัยป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 312 คน ร้อยละ 30.29 โดยจากการตรวจคัดกรองพบว่ากลุ่มเสี่ยงบางรายวัดความดันโลหิตที่ รพ.สต. จะพบค่าความดันโลหิตที่สูง แต่เมื่อวัดความดันที่บ้านโดย อสม. หรือวัดด้วยตนเองหรือญาติ จะพบระดับความดันโลหิตที่ปกติ และเพื่อให้ได้ค่าที่ถูกต้องจึงจะต้องมีการติดตามวัดความดันโลหิตต่อเนื่องที่บ้านหรือญาติ เพื่อเป็นการยืนยันผลการคัดกรอง และได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้องต่อไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงเตี้ย ได้เล็งเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงหรือโรคเบาหวาน ซึ่งจะกลายเป็นกลุ่มโรคและอาจกลายเป็นกลุ่มที่เป็นโรคที่ควบคุมโรคไม่ได้ก็จะกลายเป็นกลุ่มที่มีโรคแทรกซ้อน ส่งผลให้เสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเป็นจำนวนมากทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และประเทศชาติ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงเตี้ยจึงได้จัดทำโครงการ "ติดตามกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง/เบาหวาน" ขึ้น เพื่อเป็นการติดตามภาวะสุขภาพของประชาชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 92
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตตามเกณฑ์ที่กำหนด
2.กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน
3.มีเค่รื่องวัดความดันโลหิตในหมู่บ้าน สามารถให้บริการแก่ประชาชนได้ทันที


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

วันที่ 26 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการและมอบหมายภารกิจแก่ อสม. แกนนำชุมชน และเจ้าหน้าที่
2.จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย
3.จัดทำแนวทางการวัดความดันโลหิต การเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว และแบบบันทึก
4.ฝึกทักษะญาติ/ผู้ป่วยให้สามารถวัดความดันโลหิตได้ และวัดความดันโลหิต อย่างต่อเนื่องจนครบ 7 วัน พร้อมบันทึกในแบบบันทึก
5.หาค่าเฉลี่ยความดันโลหิตในรอบ 7 วัน หากยังสูงกว่า 140/90 mm.Hg. ส่งพบแพทย์
6.ประชุมกลุ่มย่อยเพื่อติดตามระดับความดันโลหิตและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง 3 อ. 32 ส. ที่บ้าน/ละแวกบ้าน ตามพื้นที่รับผิดชอบของ อสม. อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 3 ครั้ง
7.ประชุมกลุ่มย่อยเพื่อติดตามระดับน้ำตาลในเลือดและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง 3 อ. 2 ส. ที่บ้าน/ละแวกบ้าน ตามพื้นที่รับผิดชอบของ อสม. เดือนละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 3 ครั้ง และส่งพบแพทย์กรณีค่าน้ำตาลสูงกว่า 126 mg./dl.
8.ประเมินผล สรุปผลการดำเนินงาน
9.รายงานผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตตามเกณฑ์ที่กำหนด
2.กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน
3.มีเครื่องวัดความดันโลหิตในหมู่บ้าน สามารถให้บริการแก่ประชาชนได้ทันที

 

92 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 92
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 92
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการติดตามกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง/เบาหวาน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3020-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายแวอาแซ มามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด