กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพเกษตรกรสวนยางพารา หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด ระยะที่ 1

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพเกษตรกรสวนยางพารา หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด ระยะที่ 1 ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางจิราภรณ์ พรหมเมศว์

ชื่อโครงการ โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพเกษตรกรสวนยางพารา หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด ระยะที่ 1

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5300-2-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 เมษายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพเกษตรกรสวนยางพารา หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด ระยะที่ 1 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพเกษตรกรสวนยางพารา หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด ระยะที่ 1



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพเกษตรกรสวนยางพารา หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด ระยะที่ 1 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5300-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 เมษายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคที่เกิดจากการทำงาน หรือโรคจากการประกอบอาชีพ เป็นปัญหาสำคัญที่มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคล ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติเมื่อเกิดกับบุคคลที่อยู่ในวัยทำงานและมีบทบาทความรับผิดชอบสำคัญของครอบครัวย่อมส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อครอบครัวและสังคม ทั้งในทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดกับผู้ประกอบอาชีพอิสระนอกระบบหรือแรงงานนอกระบบ เช่น เกษตรกร ประมง ร้านอาหาร/ขนม ซ่อมรถ ซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า ก่อสร้าง เป็นต้น เพราะผู้ที่ประกอบอาชีพเหล่านี้เป็นเจ้าของกิจการเองไม่ได้รับค่าจ้างจากผู้อื่นในลักษณะของเงินเดือนหรือค่าแรงประจำ และรับผิดชอบต่อการดำเนินการทั้งในส่วนของกำไร หรือขาดทุน หากเกิดการเจ็บป่วยหรือประสบเหตุอันตรายไม่สามารถทำงานได้ ย่อมขาดรายได้ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในครัวเรือนและคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัว ดังนั้นการส่งเสริมค่านิยมที่ถูกต้องด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้กับผู้ประกอบอาชีพแรงงานนอกระบบ จึงเป็นเรื่องสำคัญ
ในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแคมีแรงงานนอกระบบ ประกอบด้วย เกษตรกรชาวสวนยางพารา เกษตรกรปลูกผัก ประมง เป็นต้น โดยกลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพารา ถือเป็นกลุ่มแรงงานนอกระบบส่วนใหญ่ในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแค และยังประกอบอาชีพปลูกผักเพื่อหารายได้เสริมนอกเหนือจากการกรีดยางพาราด้วย ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 5 บ้านนาแคตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจในครัวเรือนของแรงงานนอกระบบ จึงได้จัดโครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพเกษตรกรสวนยางพารา หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด เพื่อสำรวจประเมินความเสี่ยงด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานและจัดทำข้อมูลสถานการณ์และความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มแรงงานนอกระบบเพื่อนำฐานข้อมูลจำนวนแรงงานนอกระบบในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแค มาแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพให้แรงงานนอกระบบ โดยการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคจากการทำงาน สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและลดความเสี่ยงจากการทำงานให้กับกลุ่มอาชีพแรงงานนอกระบบอาชีพเกษตรกรสวนยางพารา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่
  2. เพื่อลดภาวะเครียดวิตกกังวลในผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ศึกษาเครื่องมือในการสำรวจประเมินความเสี่ยง
  2. อาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) สำรวจพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงจากเครื่องมือการสำรวจพฤติกรรมและวิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1. เกิดกลุ่มอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในพื้นที่ จำนวน 22 คน
2. กลุ่มเสี่ยงจำนวน 60 คนได้รับการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง ผลลัพธ์ แรงงานนอกระบบ กลุ่มเกษตรกรสวนยางพาราได้รับการสำรวจประเมินความเสี่ยงด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานและมีการจัดทำข้อมูลสถานการณ์และความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มแรงงานนอกระบบเพื่อนำฐานข้อมูลจำนวนแรงงานนอกระบบในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแค เพื่อใช้ในการวางแผนแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพให้แรงงานนอกระบบต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ศึกษาเครื่องมือในการสำรวจประเมินความเสี่ยง

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมวางแผนการดำเนินงานร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องและจัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครอาชีวอนามัยชุมชนในพื้นที่ 1. พัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครอาชีวอนามัย(อสอช.)โดยการอบรมอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ศึกษาเครื่องมือในการสำรวจประเมินความเสี่ยง     1.อบรมให้ความรู้อาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) จำนวน 1 ครั้ง และศึกษาเครื่องมือในการสำรวจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่เพิ่มขึ้น 20 คน

 

0 0

2. อาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) สำรวจพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงจากเครื่องมือการสำรวจพฤติกรรมและวิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจ

วันที่ 1 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. อาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) สำรวจพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงจากเครื่องมือการสำรวจพฤติกรรมและวิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจ     1.1 สำรวจประเมินความเสี่ยงด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานโดยใช้เครื่องมือการประเมินความเสี่ยง (google form)
        1.2 ประชุมสรุปผลการสำรวจข้อมูลปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพในกลุ่มอาชีพเกษตรกรชาวสวนยางพารา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีระบบฐานข้อมูลจำนวนแรงงานนอกระบบในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแค

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพเกษตรกรสวนยางพารา หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด ระยะที่ 1 ได้จัดทำขึ้นเพื่อสำรวจประเมินความเสี่ยงด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานและจัดทำข้อมูลสถานการณ์และความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มแรงงานนอกระบบเพื่อนำฐานข้อมูลจำนวนแรงงานนอกระบบในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแค มาแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพให้แรงงานนอกระบบ โดยการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคจากการทำงาน สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและลดความเสี่ยงจากการทำงานให้กับกลุ่มอาชีพแรงงานนอกระบบอาชีพเกษตรกรสวนยางพารา โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด จำนวน 22 คน โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1. ประชุมวางแผนการดำเนินงานร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องและจัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครอาชีวอนามัยชุมชนในพื้นที่ จัดเมื่อวันที่........26..กุมภาพันธ์..2564..... 2. พัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครอาชีวอนามัย(อสอช.)โดยการอบรมอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ศึกษาเครื่องมือในการสำรวจประเมินความเสี่ยง โดยการอบรมให้ความรู้อาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) จำนวน 1 ครั้ง และศึกษาเครื่องมือในการสำรวจ จัดเมื่อวันที่.......28...กุมภาพันธ์..2564........ 3. อาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) สำรวจพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงจากเครื่องมือการสำรวจพฤติกรรมและวิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจ   3.1 สำรวจประเมินความเสี่ยงด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานโดยใช้เครื่องมือการประเมินความเสี่ยง (google form) ทำกิจกรรมเมื่อวันที่.............28..มีนาคม..2564......... มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเกษตรกรชาวสวนยางพารา จำนวน 60 คน ซึ่งจากผลการสำรวจมีเกษตรกรที่ความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มแรงงานนอกระบบอาชีพเกษตรกรสวนยางพารา จำนวน คน รายละเอียดดังเอกสารแนบ 3.2 ประชุมสรุปผลการสำรวจข้อมูลปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพในกลุ่มอาชีพเกษตรกรชาวสวนยางพารา

  1. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) ........จากการสำรวจข้อมูลผู้ที่เป็นแรงงานนอกระบบอาชีพเกษตรกรสวนยางพารา มีมากกว่ากลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ ทำให้มีกลุ่มแรงงานนอกระบบอาชีพเกษตรกรสวนยางพาราที่ไม่ได้รับการสำรวจข้อมูล......... แนวทางการแก้ไข (ระบุ).....จัดทำโครงการในกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับการสำรวจในโครงการนี้ ......

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ เพิ่มขึ้น(คน)
0.00 22.00 22.00

 

2 เพื่อลดภาวะเครียดวิตกกังวลในผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ประกอบอาชีพเสี่ยงที่มีภาวะเครียด วิตกกังวล
50.00 40.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ (2) เพื่อลดภาวะเครียดวิตกกังวลในผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ศึกษาเครื่องมือในการสำรวจประเมินความเสี่ยง (2) อาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) สำรวจพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงจากเครื่องมือการสำรวจพฤติกรรมและวิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพเกษตรกรสวนยางพารา หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด ระยะที่ 1 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5300-2-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจิราภรณ์ พรหมเมศว์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด