กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว


“ โครงการสุขภาพดี มีได้ ต้องทำเองชมรม อสม.หมู่ที่ 9 ”

ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางทวิพร สร้อยทอง

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดี มีได้ ต้องทำเองชมรม อสม.หมู่ที่ 9

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3346-2-29 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดี มีได้ ต้องทำเองชมรม อสม.หมู่ที่ 9 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดี มีได้ ต้องทำเองชมรม อสม.หมู่ที่ 9



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดี มีได้ ต้องทำเองชมรม อสม.หมู่ที่ 9 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3346-2-29 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ความเจ็บป่วยของประชาชนในหมู่ที่่9 พบว่าประชาชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดัน/เบาหวาน/หัวใจ/หลอดเลือสมอง และมะเรง เพิ่มขึ้นทุกปี ปี 2561 มีจำนวน 46 ราย ปี 2562 มีจำนวน 49 ราย และปี 256 มีจำนวน 50 รายซึ่งโรคดังกล่าวเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกายที่ต่อเนื่อง การใช้ชีวิตประจำวันอย่างเร่งรีบ/ความเครียดเป็นต้น
จากสถานการณ์ดังกล่าวทำให้อสม ได้มีการคัดกรองเพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เกิดโรคกลุ่มป่วยมิให้เกิดโรคแทรกซ้อน และกลุ่มปกติไม่ให้เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรค จึงได้มีการรับสมัคครัวเรือน จำนวน 50 ครัวเรือน( 1ครัวเรือน 1 คน) พื่อเข้าร่วมโครงการ โดยครัวเรือนที่เข้าร่วมต้องมีสมาชิกในครัวเรือนมีการอออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3-5 วัน มีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือนอย่างน้อย 5 ชนิดและมีการประกอบอาหารกินเองเป็นประจำเพื่อเป็นการส่งเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหหมาะสมและสามารถป้องกันโรคได้ในอนาคต อีกทั้งเป็นการลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวและของประเทศได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
  2. 2.กิจกรรมตู้เย็นข้างบ้าน
  3. 3.กิจกรรมกินเป็นเน้นผัก
  4. 4.กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลสุขภาพ
  5. 5.กิจกรรมประเมินผลสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสภาวะสุขภาพของตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร/การออกกำลังกายที่ถนัดและเหมาะสม 2.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภอย่างน้อย 5 ชนิด 3.ประชาชนมีอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 10 4.กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อข้อมูลไปยัง รพ.สต.บ้านตลิ่งชันเพื่อตรวจสุขภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2.กิจกรรมตู้เย็นข้างบ้าน

วันที่ 9 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้ายหมาย 2.ประสานวิทยากร 3.เตรียมสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ 4.ดำเนินการอบรมให้ความรู้ 5.แจกพันธุ์ผัก 6.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายนำไปปลูก 7.ติดตาม ประเมินผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ  สามารถส่งเสริมให้ประชาชนการผลิดอาหารที่ปลอดภัยเพือ่บริโภคในครัวเรือนและที่เหลือจากการบริโภคก็สามารถนำไปแบ่งปันและจำหน่วยให้กับเพื่อนบ้านในชุมชน

 

0 0

2. 1.กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ

วันที่ 1 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชาสัมพันธุ์ให้ประชาชนทราบ 2.ประสานวิทยากร 3. เตรียมสถานที่วัสดุ อุปกรณ์ 4.ดำเนินการอบรมให้ความรู้ 5.วิทยากรนำออกกำลังกาย ทุกวัน 6.ติดตาม ประเมินผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสุขภาพ เช่นการชั่งนำ้หนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอง เพือ่ค่าค่าดัชนีมวลกาย และการวัดความดับโลหิตและการตรวจหาค่านำ้ตาลในเลือด เพือ่ลดความเสียงโรคเรื้อรัง ได้รับการส่งเสิรมให้มีการออกกำลังกายที่เหมาะสม

 

0 0

3. 3.กิจกรรมกินเป็นเน้นผัก

วันที่ 14 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ 2.ประสานวิทยากร 3.เตรียมสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ 4.ดำเนินการอบรม 5.สาธิตการทำอาหาร 6.ติดตามผล รายงานผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจสามารถทำเมนูสุขภาพจากผักที่ปลอดสารพิษตกค้าง

 

0 0

4. 4.กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลสุขภาพ

วันที่ 17 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชาสัมพันธุ์ให้ประชาชนได้ทราบ 2.จัดเตรียมวิทยากรนำ 3.เตรียมสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ 4.ดำเนินการเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้  จากบุคคลต้นแบบในการดูแลสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 5.ติดตาม ประเมินผล รายงานผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถนำแบบอย่างจากบุคคลต้นแบบ มาปรับใช้ในชีวิตประจำวันของตนเองได้

 

0 0

5. 5.กิจกรรมประเมินผลสุขภาพ

วันที่ 7 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

เก็บรวบรวมข้อมุลและถ่ายเอกสารรายงานผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรายงานการดำเนินเป็นรูปเล่มส่งให้สปสช.ทต.บ้านพร้าว

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 122
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 122
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ (2) 2.กิจกรรมตู้เย็นข้างบ้าน (3) 3.กิจกรรมกินเป็นเน้นผัก (4) 4.กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลสุขภาพ (5) 5.กิจกรรมประเมินผลสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดี มีได้ ต้องทำเองชมรม อสม.หมู่ที่ 9 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3346-2-29

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางทวิพร สร้อยทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด