กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย


“ โครงการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็กปฐมวัย ”

ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางมาซีนะ วงค์หมัดทอง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็กปฐมวัย

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 52816001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็กปฐมวัย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็กปฐมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 52816001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นโยบายและแผนการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติได้เห็นถึงความสำคัญต่อการพัฒนาเด็กในระดับปฐมวัยซึ่งเป็นช่วงอายุที่มีอัตราของการพัฒนาการที่สูงเด็กที่ไม่ได้รับการเลี้ยงดูและพัฒนาอย่างถูกต้องในช่วงเวลานี้เมื่อพ้นวัยแล้วโอกาสทองเช่นนี้จะไม่หวนกลับมาอีกเลย แต่ผลประเมินพบว่าหลายหน่วยงานที่จัดบริการสำหรับเด็กปฐมวัยยังต้องปรับปรุงคุณภาพในด้านมาตรฐานคุณภาพที่เหมาะสมและถูกต้องตามหลักวิชาอีกในหลายๆด้านจึงจำเป็นต้องดำเนินการพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเร่งด่วนโดยเฉพาะอย่างยิ่งสถาบันครอบครัว (https://www.gotoknow.org/posts/300918) ปฐมวัยเป็นช่วงวัยที่น่ารักที่สุดของเด็กหากผู้ใหญ่รักอย่างเข้าใจรู้ถึงความต้องการมีเทคนิคการควบคุมที่ดีเด็กทุกคนก็พร้อมจะเชื่อฟังและพัฒนาศักยภาพตามวัยอย่างสนุกสนานและมีคุณภาพลองมองในจุดดีหาจุดเด่นของเด็กและหาวิธีการที่เหมาะสมให้เกิดขึ้นไม้ที่ยังอ่อนทุกต้นก็จะสามารถดัดได้ตามต้องการแต่คำถามที่ยังคงสงสัยนั้นคือเราตระหนักและเห็นความสำคัญของการพัฒนาเด็กตั้งแต่เริ่มต้นมากกว่าการตามแก้ไขปัญหาในวัยอื่นๆแล้วหรือยัง(บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnorโดย ภานุพรพงศ์สุวรรณในนโยบายและการวางแผนการศึกษา)
จากข้อมูลผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ยในปี ๒๕๕๙พบปัญหาเด็กปฐมวัยน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์และจากการตรวจพัฒนาการพบปัญหาพัฒนาการล่าช้าปัญหาสงสัยพัฒนาการล่าช้าเกินมาตรฐานจากตัวชี้วัดร้อยละ ๒๐
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำ โครงการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีการส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้ดีขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย เขต ๑๒ เน้นเด็กปฐมวัยในกลุ่ม อายุ ๐-๕ ปีและ เพื่อค้นหาเด็กที่มีน้ำหนักน้อยสงสัยพัฒนาการล่าช้าหรือพัฒนาการล่าช้าที่จะต้องดูแลอย่างเร่งด่วนหากพบ

ความผิดปกติสามารถแก้ไขได้ในระยะเวลา ๑ เดือน หรืออาจจะต้องส่งเพื่อวินิจฉัยต่อไปตามระบบ ขั้นตอนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโภชนาการและสามารถใช้คู่มือDSPM ในการตรวจ พัฒนาการลูกในช่วงวัยปฐมวัย(กลุ่มอายุ ๙, ๑๘, ๓๐, ๔๒ เดือน) ได้ ร้อยละ ๙๐ ๒. เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กในเขตรับผิดชอบได้รับการคัดกรองการตรวจพัฒนาการจากเจ้าหน้าที่หากพบพัฒนาการล่าช้าสามารถทำการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นได้ภายใน 1 เดือน หากพบความผิดปกติสามารถส่งต่อในระดับต่อไป ร้อยละ100 ๓.เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองตระหนักให้ความสำคัญในการที่จะดูแลด้านโภชนาการและสามารถกระตุ้นพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้มากยิ่งขึ้น ร้อยละ ๙๐
  2. เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กในเขตรับผิดชอบได้รับการคัดกรองการตรวจพัฒนาการจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหากพบพัฒนาการล่าช้าสามารถทำการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นได้ภายใน ๑ เดือน หากพบความผิดปกติสามารถส่งต่อในระดับต่อไป
  3. เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองตระหนักให้ความสำคัญในการที่จะดูแลด้านโภชนาการและสามารถกระตุ้นพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้มากยิ่งขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 634
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโภชนาการและสามารถใช้คู่มือDSPM ในการตรวจ พัฒนาการลูกในช่วงวัยปฐมวัย(กลุ่มอายุ ๙, ๑๘, ๓๐, ๔๒ เดือน) ได้ ร้อยละ ๙๐ ๒.เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กในเขตรับผิดชอบได้รับการคัดกรองการตรวจพัฒนาการจากเจ้าหน้าที่หากพบพัฒนาการล่าช้าสามารถทำการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นได้ภายใน 1 เดือน หากพบความผิดปกติสามารถส่งต่อในระดับต่อไป ร้อยละ100 ๓.เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองตระหนักให้ความสำคัญในการที่จะดูแลด้านโภชนาการและสามารถกระตุ้นพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้มากยิ่งขึ้น ร้อยละ ๙๐


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ดำเนินการออกตรวจพัฒนาการเด็กที่ศูนย์เด็กเล็ก จำนวน ๔ ศูนย์ พร้อมให้ความรู้ แก่ครูประจำศูนย์เด็กเล็ก และผู้ปกครอง พ่อและแม่ จำนวน ๔ วัน

    วันที่ 8 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากผลการดำเนินโครงการ  “ ส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็กปฐมวัย” โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย  ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ซึ่งประกอบด้วยพ่อแม่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กทั้งหมด๔ ศูนย์ ๑๖๓ คน พ่อแม่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยในสถานบริการในกลุ่มอายุ ๙,๑๘,๓๐,๔๒ เดือน จำนวน ๑๕๔ คน  และตรวจพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กทั้งหมด ๔ ศูนย์ จำนวน ๑๖๓ คน  ตรวจพัฒนาการเด็กปฐมวัยในสถานบริการกลุ่มอายุ ๙,๑๘,๓๐,๔๒ เดือน จำนวน ๑๕๔ คน  พบว่าส่วนใหญ่กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจในการรับความรู้ในเนื้อหาจากคู่มือDSPMที่แจกให้เพื่อที่ได้ไปตรวจกับลูกของตนเอง  และจากการตรวจพัฒนาการในเด็กปฐมวัยร้อยละ ๘๐ มีพัฒนาการปกติ  อีกร้อยละ ๒๐ สงสัยล่าช้า จากข้อมูลดังกล่าวผู้ปกครองสามารถที่จะกระตุ้นลูกของตนเองที่บ้านได้ในระยะเวลา ๑ เดือนและเจ้าหน้าที่ได้ติดตามอีกครั้งเมื่อครบเวลา  ๑ เดือน  พบว่ามีเด็กพัฒนาการล่าช้าและน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 2 คน กำลังรักษาอย่างต่อเนื่องจากรพ.สตูลและรพ.หาดใหญ่

    ๒. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด ๒.๑ การบรรลุตามวัตถุประสงค์ •บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์  เพราะ
    ๒.๒จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ๖๓๔  คน

    ๓. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ๓๑,๗๐๐  บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ๓๑,๗๐๐ บาท  คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .......... - ......... บาท  คิดเป็นร้อยละ .......................


    ๔. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน •ไม่มี • มี ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ)
    ๑. เด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กขาดเรียนทำให้ไม่ได้ตรวจพัฒนาการพร้อมกับเพื่อนในกลุ่ม ๒. ความร่วมมือในการรับฟังการอบรมเนื่องจากผู้เข้ารับการอบรมไม่สามารถเข้ารับการอบรมเป็นเวลานานได้เนื่องจากติดภาระกิจ ๓. การนัดหมายให้ผู้ปกครองพาเด็กมาตรวจพัฒนาการไม่มาตรวจตามนัด แนวทางการแก้ไข (ระบุ) ๑ เด็กปฐมวัยขาดเรียนจึงต้องนัดมาตรวจด้วยตนเองในสถานบริการรพ.สต.ทุ่งนุ้ย ๒ ทำหนังสือ แจ้งล่วงหน้าเพื่อให้ผู้เข้ารับฟังการอบรมทำภารกิจที่บ้านให้เสร็จและมีความพร้อมจะเข้าอบรม ๓ เลื่อนนัดตรวจพัฒนาการวันถัดไป

     

    634 634

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโภชนาการและสามารถใช้คู่มือDSPM ในการตรวจ พัฒนาการลูกในช่วงวัยปฐมวัย(กลุ่มอายุ ๙, ๑๘, ๓๐, ๔๒ เดือน) ได้ ร้อยละ ๙๐ ๒. เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กในเขตรับผิดชอบได้รับการคัดกรองการตรวจพัฒนาการจากเจ้าหน้าที่หากพบพัฒนาการล่าช้าสามารถทำการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นได้ภายใน 1 เดือน หากพบความผิดปกติสามารถส่งต่อในระดับต่อไป ร้อยละ100 ๓.เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองตระหนักให้ความสำคัญในการที่จะดูแลด้านโภชนาการและสามารถกระตุ้นพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้มากยิ่งขึ้น ร้อยละ ๙๐
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กในเขตรับผิดชอบได้รับการคัดกรองการตรวจพัฒนาการจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหากพบพัฒนาการล่าช้าสามารถทำการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นได้ภายใน ๑ เดือน หากพบความผิดปกติสามารถส่งต่อในระดับต่อไป
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองตระหนักให้ความสำคัญในการที่จะดูแลด้านโภชนาการและสามารถกระตุ้นพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้มากยิ่งขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 634
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 634
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโภชนาการและสามารถใช้คู่มือDSPM ในการตรวจ พัฒนาการลูกในช่วงวัยปฐมวัย(กลุ่มอายุ ๙, ๑๘, ๓๐, ๔๒ เดือน) ได้ ร้อยละ ๙๐ ๒. เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กในเขตรับผิดชอบได้รับการคัดกรองการตรวจพัฒนาการจากเจ้าหน้าที่หากพบพัฒนาการล่าช้าสามารถทำการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นได้ภายใน 1 เดือน หากพบความผิดปกติสามารถส่งต่อในระดับต่อไป ร้อยละ100 ๓.เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองตระหนักให้ความสำคัญในการที่จะดูแลด้านโภชนาการและสามารถกระตุ้นพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้มากยิ่งขึ้น ร้อยละ ๙๐ (2) เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กในเขตรับผิดชอบได้รับการคัดกรองการตรวจพัฒนาการจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหากพบพัฒนาการล่าช้าสามารถทำการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นได้ภายใน ๑ เดือน หากพบความผิดปกติสามารถส่งต่อในระดับต่อไป (3) เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองตระหนักให้ความสำคัญในการที่จะดูแลด้านโภชนาการและสามารถกระตุ้นพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้มากยิ่งขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็กปฐมวัย จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 52816001

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางมาซีนะ วงค์หมัดทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด