กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน


“ โครงการปรับเปลี่ยนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ”

ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะแพน

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด

ที่อยู่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3368-1(8) เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3368-1(8) ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,646.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้คนไทยเจ็บป่วยและตายด้วยโรคติดต่อและไม่ติดต่อที่มีสาเหตุมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งมีอัตราป่วยต่อแสนประชากรดังนี้ โรคมะเร็งทุกชนิด 119.10โรคความดันโลหิตสูง708.74 โรคหัวใจและหลอดเลือด 901.31 และสำหรับอัตราตายต่อแสนประชากรมี ดังนี้โรคมะเร็งทุกชนิด85.04 โรคความดันโลหิตสูง 3.64และโรคหัวใจและหลอดเลือด 55.29 (ข้อมูลจากสำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2559) ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงร่วมที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่การขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้อง การรับประทานอาหารที่มันจัด เค็มจัด หวานจัดรวมทั้งผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ ความเครียด การสูบบุหรี่และดื่มสุรา เป็นต้น ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญจำเป็นต้องดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกระดับรวมทั้งประชาชนอย่างจริงจัง เพื่อให้ประชาชนมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ สัปดาห์ละอย่างน้อย 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักสดและผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม)และลดอาหารไขมันซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดลงลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วย จากการดำเนินงานคัดกรองโรคเบาหวาน กลุ่มเป้าหมายอายุ 35ปีขึ้นไป โรคความดันโลหิตสูงในกลุ่ม ปี 2560 ในเขตรับผิดชอบ รพ. สต.ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง ผลการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 654 คน พบกลุ่มที่มีระดับความดันโลหิต ๑๒o/๘o-๑๓๙/๘๙ มิลลิเมตรปรอท (เสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและหัวใจหลอดเลือด) จำนวน 256 คนคิดเป็นร้อยละ 40.52 พบกลุ่มที่มีระดับความดันโลหิต ๑4o/๙o มิลลิลิตรปรอท ขึ้นไป(สงสัยเป็นโรค) จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 3.67 และผลจากการคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 779 คน ที่มีภาวะเบาหวานจากการคัดกรอง (ไม่รวมผู้ป่วย) อยู่ในกลุ่มแฝง/เสียง จำนวน 96 คนคิดเป็นร้อยละ 12.32 กลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 6 คนคิดเป็นร้อยละ 0.77โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลตะแพน จึงจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนและพัฒนาพฤติกรรมลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดขึ้น โดยมุ่งเน้นส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย ๓ -๕ วันวันละอย่างน้อย ๓๐ นาที ร่วมกับกินผักอย่างน้อยวันละครึ่งกิโลกรัม และลดอาหารไขมัน ตลอดจนมีส่วนร่วมในการจัดปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง อันจะนำไปสู่การลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรควิถีชีวิต และส่งผลให้ประชาชนมีการสร้างสุขภาพที่ยั่งยืนและมีสุขภาพแข็งแรง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคที่ถูกต้องเหมาะสม
  2. เพื่อให้ชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อน
  3. ลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเรื้อรัง และลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่เหมาะสมอย่างน้อย 3 พฤติกรรม คือกินผัก ผลไม้สด ปลอดสารพิษทุกวัน ลดการกินอาหารที่มีไขมันสูง และออกกำลังกายตามวัยที่เหมาะสม
    2. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง เบาหวาน ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านโดยทีมหมอครอบครัว พร้อมทั้งประเมินภาวะสุขภาพ และหาแนวทางแก้ไข
    3. มีแปลงผักสาธิตในชุมชน และตลาดเกษตรปลอดสารพิษในชุมชนโดยนักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ
    4. ลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ดำเนินการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง แก่กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป จำแนกผลการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย เป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยเป็นโรค ตามเกณฑ์ปิงปองจราจร 7 สีและนำแต่ละกลุ่มเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพติก

    วันที่ 3 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป การคัดกรองเบาหวาน จำนวน 822 คน คิดเป็นร้อยละ 98.79 และความดันโลหิตสูง จำนวน 826 คน คิดเป็นร้อยละ 99.27 2.แกนนำกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 3.มีการติดตาม แกนนำกลุ่มเสี่ยง ทุกคนหลังจากได้รับความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4.แกนนำออกกำลังกายในหมู่บ้านได้การอบรมฟื้นฟู จำนวน 30 คน 5.แกนนำปลูกผักปลอดสารพิษ จำนวน 50 คน ได้รับความรู้และฝึกปฎิบัติในการปลูกผักปลอดสารพิษ การจัดทำปุ๋ยหมักชีวภาพ 6.จัดตั้งแปลงผักสาธิตในชุมชน 1 แปลง 7.มีตลาดเกษตรปลอดสารพิษในชุมชน 1 แห่ง ในโรงเรียนวัดตะแพน โดยมีกิจกรรมต่อเนื่องทุกเดือน 8.มีการเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 45 คน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 146 คน ในเขตรับผิดชอบ โดยทีมหมอครอบครัวบ้าน

     

    50 150

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป การคัดกรองเบาหวาน จำนวน 822 คน คิดเป็นร้อยละ 98.79 และความดันโลหิตสูง จำนวน 826 คน คิดเป็นร้อยละ 99.27 2.แกนนำกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 3.มีการติดตาม แกนนำกลุ่มเสี่ยง ทุกคนหลังจากได้รับความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4.แกนนำออกกำลังกายในหมู่บ้านได้การอบรมฟื้นฟู จำนวน 30 คน 5.แกนนำปลูกผักปลอดสารพิษ จำนวน 50 คน ได้รับความรู้และฝึกปฎิบัติในการปลูกผักปลอดสารพิษ การจัดทำปุ๋ยหมักชีวภาพ 6.จัดตั้งแปลงผักสาธิตในชุมชน 1 แปลง 7.มีตลาดเกษตรปลอดสารพิษในชุมชน 1 แห่ง ในโรงเรียนวัดตะแพน โดยมีกิจกรรมต่อเนื่องทุกเดือน 8.มีการเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 45 คน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 146 คน ในเขตรับผิดชอบ โดยทีมหมอครอบครัวบ้าน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ชุมชนมีความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคที่ถูกต้องเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคที่ถูกต้องเหมาะสม

     

    2 เพื่อให้ชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อน
    ตัวชี้วัด : ชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อน

     

    3 ลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเรื้อรัง และลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : ลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเรื้อรัง และลดภาวะแทรกซ้อน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ชุมชนมีความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคที่ถูกต้องเหมาะสม (2) เพื่อให้ชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อน (3) ลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเรื้อรัง และลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3368-1(8)

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะแพน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด