กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง


“ โครงการ แกนนำ NCD รู้โรค รู้ยา ไม่ต้องมา ยาก็ถึง ”

ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
ภญ.มูนาดา แวนาแว

ชื่อโครงการ โครงการ แกนนำ NCD รู้โรค รู้ยา ไม่ต้องมา ยาก็ถึง

ที่อยู่ ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L8284-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ แกนนำ NCD รู้โรค รู้ยา ไม่ต้องมา ยาก็ถึง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ แกนนำ NCD รู้โรค รู้ยา ไม่ต้องมา ยาก็ถึง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ แกนนำ NCD รู้โรค รู้ยา ไม่ต้องมา ยาก็ถึง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L8284-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ๆผู้ป่วยในคลินิกโรคเรื้อรังโรงพยาบาลยะหริ่ง ปี 2562-63 มีจำนวน 7,252 ราย และ 6,889 ราย โดยผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 6,073 ราย และ 5,831 ราย ตามลำดับ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคได้ (BP < 140/90 mmHg ใน 2 visit) ในปี 2562-63 มีจำนวน 1,544 ราย คิดเป็น 25.42% และ 2,849 คิดเป็น 48.86% ตามลำดับ ระยะเวลารับบริการผู้ป่วยนอกเฉลี่ยใน ปีงบประมาณ 2563 เท่ากับ 2 ชั่วโมง 49 นาที ระยะเวลารอรับยาผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชั่วโมงเร่งด่วน 11.30-12.30 น. เฉลี่ย 22.49 นาที มีทีมผู้ให้บริการในคลินิกโรคเรื้อรัง ได้แก่ แพทย์ 1 คน , พยาบาล 4 คน , เภสัชกร 1 คน รับให้คำปรึกษากรณีผู้ป่วยมีปัญหาด้านยา ปัญหาที่พบในคลินิกโรคเรื้อรัง ได้แก่ การขาดการรักษาและขาดยาในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ 26.58 ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายถึงชีวิตได้ การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องเป็นวิธีหนึ่งที่สำคัญในการควบคุมระดับความดันโลหิต ลดปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง หัวใจ ไตและการเสียชีวิต และมีอัตราการอยู่รอดที่ 5 ปีดีกว่า ผู้ที่รับประทานยาไม่สม่ำเสมอต่อเนื่อง ปี 2564 ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลยะหริ่ง ได้ดำเนินงานจัดระบบการให้บริการด้านยาตามวิถี new normal ในโครงการ "แกนนำ NCD ดูแลยา อาร์ดียู" เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่รับบบริการในโรงพยาบาลยะหริ่งและสามารถควบคุมโรคได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว โดยนำร่องในผู้ป่วยที่อยู่ในเขตเทศบาลตำบลยะหริ่ง จากการดำเนินงาน พบว่า ผู้ป่วยที่ได้รับคัดเลือกเป็นแกนนำ NCD ในเขตเทศบาลยะหริ่ง จำนวน 21 คน ซึ่งผู้ป่วยจะได้รับการดูแลในระบบการให้บริการแบบคลินิกเติมยาผ่านการนำส่งยาโดย อสม.ถึงบ้าน โดยไม่ต้องมารับบริการในโรงพยาบาล ทำให้ผู้ป่วยได้รับความสะดวก และพึงพอใจกับระบบนี้เป็นอย่างมาก แผนการดำเนินงานต่อในปี 2565 จะพัฒนาแกนนำ NCD ที่อยู่ในคลินิกเติมยาให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อใช้ในการดูแลตัวเอง ครอบครัว และชุมชน เกิดเป็นชุมชนพึ่งตนเองได้ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. คัดเลือกแกนนำ NCD ตามเกณฑ์
  2. 2. สร้างหลักสูตร 4D literacy (Drug-Disease-Dietary)
  3. 3. สร้างนวัตกรรมในระบบ Refilling clinic for stable HT (locker for U)โดยเครือข่ายในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคได้ เข้าถึงบริการที่สะดวก รวดเร็ว
2) ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคได้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อการจัดการตนเอง ครอบครัว และชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2. สร้างหลักสูตร 4D literacy (Drug-Disease-Dietary)

วันที่ 1 มีนาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมหารือทีมสหวิชาชีพจัดทำหลักสูตร 4D literacy (Drug-Disease-Dietary-Dental) แก่แกนนำ NCD
  2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรม 4D ให้อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน เพื่อติดตามผู้ป่วยในคลินิกเติมยา
  3. อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยที่เป็นแกนนำ NCD เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้โปรแกรม 4D และประเมินผุ้ป่วยก่อนเข้ารับการอบรม
  4. ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการติดตามเยี่ยมบ้านจาก อสม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีเนื้อหารายละเอียดการให้ความรู้ตามโปรแกรม 4D literacy
  2. มี อสม.ที่เข้ารับการอบรมทั้งสิ้น 32 คน มีความรู้เฉลี่ยก่อนและหลังอบรม คิดเป็นร้อยละ 60 และ ุ68 ของแบบทดสอบ
  3. มีผู้ป่วยที่เข้ารับการอบรม 15 คนในจำนวนผู้ป่วยในคลินิกเติมยาทั้งหมด 22 คน คิดเป็นร้อยละ 68.18     ผลการวัดความรู้และความเชื่อด้านสุขภาพ พบว่า       ความรู้           ร้อยละ 95 ของผู้ป่วยที่เข้าร่วม มีความรู้ระดับสูง           ร้อยละ 5  มีความรู้ระดับปานกลาง       ความเชื่อด้านสุขภาพ (วัดความคิดเห็น)       1.การรับรู้ความรุนแรง และ Risk of complication
                ร้อยละ 45.68 เห็นด้วยอย่างยิ่ง , ร้อยละ 43.21 เห็นด้วย       2.การรับรู้ประโยชน์ของการกินยา    3. การรับรู้อุปสรรคต่อการกินยา           ร้อยละ 23.61 เห็นด้วยอย่างยิ่ง          ร้อยละ 49.31 ไม่เห็นด้วย           ร้อยละ 59.03 เห็นด้วย                                    5.56  ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

 

30 0

2. 1. คัดเลือกแกนนำ NCD ตามเกณฑ์

วันที่ 7 มีนาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมแนวทางการดำเนินงานโครงการแก่ทีมสหวิชาชีพโรงพยาบาลยะหริ่ง และทีมชุมชน (จนท.PCU และทีม อสม.RDU)
  2. กำหนดเกณฑ์การประเมินผู้ป่วยก่อนเข้าร่วมโครงการและและเกณฑ์การคัดผู้ป่วยออกจากโครงการ
  3. ประสาน IT โรงพยาบาลคัดเลือกผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ในทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในโรงพยาบาล เฉพาะผุ้ป่วยในเขตเทศบาลตำบลยามู (ม.1 , ม.2)
  4. จัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ เพื่อประเมินผู้ป่วยและให้ผุ้ป่วยสมัครใจเข้าร่วมโครงการฯ
  5. จัดระบบบริการแบบคลินิกเติมยาในผู้ป่วยที่ได้รับการคัดเลือกฯ โดยให้ อสม.ส่งยาถึงบ้าน และมีการประเมินจากแพทย์ทุก 6 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกณฑ์การคัดเลือกผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควบคุมโรคได้ในทะเบียนผุ้ป่วยโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลยะหริ่ง เพื่อรับบริการในคลินิกเติมยา     1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มีค่า  BP อยู่ในช่วง 110-140/60-90 mmHg ติดต่อกันอย่างน้อย 2 ครั้ง     2. อัตราการเต้นของหัวใจ อยู่ระหว่าง ุ60-100 ครั้งต่อนาที     3. ระดับไขมันในเลือด LDL < 160 mg/dl , TG < 500 mg/dl     4. ผุ้ป่วยใช้ยาโรคเรื้อรังไม่เกิน 5 รายการ และมีความร่วมมือในการใช้ยาในระดับมาก
        5. ผู้ป่วยสมัครใจเข้าร่วมโครงการและแพทย์ยินยอมให้เข้าร่วมโครงการ
  2. มีผู้ป่วยที่ผ่านการคัดเลือก และผ่านการประเมินซำจากการจัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจกับผู้ป่วย ยินยอมเข้าร่วมโครงการ มีทั้งสิ้น 22 ราย
  3. มีระบบบริการแบบคลินิกเติมยา โดยความร่วมมือระหว่างทีมสหวิชาชีพโรงพยาบาลยะหริ่ง และทีมชุมชนตำบลยามู

 

30 0

3. 3. สร้างนวัตกรรมในระบบ Refilling clinic for stable HT (locker for U)โดยเครือข่ายในชุมชน

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมหารือแนวทางการให้บริการแบบ locker for U ร่วมกับเครือข่ายในชุมชน
  2. จัดทำสื่อขั้นตอนการให้บริการเติมยา ผ่าน locker for U
  3. สำรวจความคิดเห็นของผู้ป่วยในคลินิกเติมยา โดยให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการออกแบบระบบบริการที่พึงพอใจ และใช้ได้จริง
  4. สรุปผลการสำรวจ รายงานผลแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ข้อเสนอแนะจากชุมชน เกี่ยวกับระบบบริการที่อยากให้เกิดขึ้น     1.1 ระบบการติดตามดูแลผู้ป่วยโดยให้ อสม. มีการประเมินและติดตามการกินยาถึงบ้าน ทำให้ผู้สูงอายุได้รับความสะดวก และยังสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่าง อสม.และผู้ป่วย อยากให้มีระบบนี้ต่อเนื่อง     1.2 อยากให้ทีมโรงพยาบาลมีการติดตามผู้ป่วยที่ยังขาดการรักษา หรือรักษาแบบไม่ต่อเนื่อง ทั้งนี้อาจเกี่ยวข้องกับความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและยาที่ไม่ถูกต้อง     1.3 ระบบการรับยาผ่าน locker อาจทำให้ อสม.ต้องเพิ่มการทำงานอีกหลายขั้นตอน อาจพบกรณีผู้ป่วยบางคนฝาก อสม.รับยาที่ locker ดังนั้น การส่งยาให้ถึงมือผุ้ป่วยถึงบ้าน อาจมีความสะดวกในการปฏิบัติงานตามบริบทพื้นที่มากกว่าการมี locker ให้บริการผู้ป่วยมนชุมชน
  2. ผลการสำรวจความพึงพอใจในระบบบริการ พบว่า ร้อยละ 100 มีความพึงพอใจต่อระบบบริการในระดับมาก ต้องการให้มีการติดตาม ดูแล ผ่านระบบบริการเช่นนี้อย่างต่อเนื่อง     ข้อเสนอแนะจากผุ้ป่วย ต้องการให้ญาติหรือคนใกล้ชิดรับบริการผ่านระบบนี้ด้วยเช่นกัน (ต้องการให้มีการขยายกลุ่มเป้าหมายเพิ่ม)

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. โรงพยาบาลยะหริ่ง มีการจัดระบบบริการแบบคลินิกเติมยาในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคได้ เป็นความร่วมมือระหว่างคลินิกโรคเรื้อรังและฝ่ายเภสัชกรรม ซึ่งมีตำบลยามู เขตเทศบาลตำบลยะหริ่งเป็นพื้นที่เรียนรู้และนำร่อง ด้วยความเข้มแข็งของเครือข่าย โดยมีการกำหนดเกณฑ์ในการรับผู้ป่วยเข้าในคลินิกเติมยา และเกณฑ์การคัดออก ผู้ป่วยที่ผ่านเกณฑ์จะมีการประชุมชี้แจงแนวทางการให้บริการ รวมถึงข้อกำหนด/เงื่อนไขในการให้บริการ เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติสมัครใจเข้ารับบริการ ผู้ป่วยเหล่านี้จะถูกเรียกเป็น "แกนนำ NCD"
    ผู้ป่วยที่อยู่ในคลินิกเติมยามีการนำส่งยาโดย อสม.ทุก 3 เดือน โดยที่ผู้ป่วยไม่ต้องเข้ารับบริการใน รพ. และจะมีการพบแพทย์ทุก 6 เดือน เจาะเลือด complete lab พร้อมกันทุก 1 ปี
  2. ผู้ป่วยที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกและสมัครใจที่จะเข้าระบบบริการแบบคลินิกเติมยา ตำบลยามู ซึ่งได้จัดประชุมชี้แจงจำนวน 3 ครั้ง มีจำนวน 22 คน โดยมี อสม.ที่รับผิดชอบดูแลทั้งหมด 4 คน
  3. จัดทำหลักสูตร 4D literacy (Drug-Disease-Diet-Dental) โดยความร่วมมือของทีมสหวิชาชีพ โรงพยาบาลยะหริ่ง ได้ออกแบบความรู้ที่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังจำเป็นต้องรู้ เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับพฤติกรรมสุขภาพและบอกต่อแก่ผู้ป่วยในชุมชนต่อ ซึ่งหลักสุตรนี้จะแบ่งความรู้ออกเป็น 2 ส่วน คือ อสม.และผู้ป่วย
  4. จัดประชุมให้ความรู้แก่ อสม. ตามหลักสูตร 4D literacy เพื่อเตรียมความพร้อม อสม.ในการติดตามผู้ป่วยหลังเข้าโปรแกรมต่อ และจะมีบทบาทในการดักจับปัญหาเพื่อรายงานทีมสหวิชาชีพแก้ไข ติดตามต่อ อสม.มีความรู้เฉลี่ย   ก่อนอบรม : ร้อยละ 60 ของแบบทดสอบ   หลังอบรม : ร้อยละ 68 ของแบบทดสอบ จะเห็นได้ว่า ยังจำเป็นต้องพัฒนาองค์ความรู้ของ อสม.ในการดูแลผู้ป่วย NCD ในชุมชน เพื่อให้เกิดการดูแล ติดตามผู้ป่วยในชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  5. จัดประชุมให้ความรู้แก่แกนนำ NCD และญาติ เพื่อสร้างความเข้าใจความสำคัญของการดูแลตัวเองในโรคเรื้อรังทั้งในผู้ป่วยและญาติ พบว่า
    ผลการวัดความรู้และความเชื่อด้านสุขภาพ พบว่า   ความรู้   ร้อยละ 95 ของผู้ป่วยที่เข้าร่วม มีความรู้ระดับสูง   ร้อยละ 5 มีความรู้ระดับปานกลาง   ความเชื่อด้านสุขภาพ (วัดความคิดเห็น)   1.การรับรู้ความรุนแรง และ Risk of complication
      ร้อยละ 45.68 เห็นด้วยอย่างยิ่ง , ร้อยละ 43.21 เห็นด้วย   2.การรับรู้ประโยชน์ของการกินยา
      ร้อยละ 23.61 เห็นด้วยอย่างยิ่ง
      ร้อยละ 59.03 เห็นด้วย
      3. การรับรู้อุปสรรคต่อการกินยา   ร้อยละ 49.31 ไม่เห็นด้วย   ร้อยละ 5.56 ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ผลการวัดความร่วมมือในการรับประทานยา   ร้อยละ 5.56 มีความร่วมมือระดับ ดีมาก     38.89      ปานกลาง     55.56      ตำ่
  6. ชุมชนวางแผนจัดทำนวตกรรมการรับยาสำหรับผู้ป่วยในคลินิกเติมยา ตำบลยามู ผ่าน locker ซึ่งตั้งไว้บริเวณตาดีกา มัสยิดยามู ซึ่งจะต้องมีการวางแนวทางปฏิบัติ สื่อสารให้ผู้ป่วยและญาติรับทราบแนวทางปฏิบัติต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 54
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 22
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. คัดเลือกแกนนำ NCD ตามเกณฑ์ (2) 2. สร้างหลักสูตร 4D literacy (Drug-Disease-Dietary) (3) 3. สร้างนวัตกรรมในระบบ Refilling clinic for stable HT (locker for U)โดยเครือข่ายในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ แกนนำ NCD รู้โรค รู้ยา ไม่ต้องมา ยาก็ถึง

รหัสโครงการ 65-L8284-01-05 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ แกนนำ NCD รู้โรค รู้ยา ไม่ต้องมา ยาก็ถึง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L8284-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ภญ.มูนาดา แวนาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด