กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการการจัดการขยะอินทรีย์ในเทศบาลตำบลหารเทา ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายชัยทัต สามารถ

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการขยะอินทรีย์ในเทศบาลตำบลหารเทา

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3339-02-10 เลขที่ข้อตกลง 0019/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการขยะอินทรีย์ในเทศบาลตำบลหารเทา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการขยะอินทรีย์ในเทศบาลตำบลหารเทา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดการขยะอินทรีย์ในเทศบาลตำบลหารเทา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3339-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 92,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลหารเทา ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอปากพะยูน มีขนาดพื้นที่ 51.52 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 11 หมู่บ้าน มีครัวเรือนทั้งหมด 3,516 ครัวเรือน มีประชากรรวม 10,012 คน แยกเป็นชาย จำนวน 4,935 คน หญิง 5,077 คน มีโรงเรียน จำนวน 7 โรงเรียน วัด จำนวน 5 วัด มัสยิด จำนวน 1 มัสยิด ตลาดนัด จำนวน 1 แห่ง ธนาคาร จำนวน 1 แห่ง สหกรณ์การเกษตร จำนวน 1 แห่ง โบราณสถาน จำนวน 1แห่ง รพ.สต. จำนวน 2 แห่ง สถานีรถไฟ จำนวน 1 แห่ง หนองน้ำขนาดใหญ่ จำนวน 6 สาย
สถานการณ์ปัญกาขยะของพื้นที่ตำบลหารเทา เทศบาลตำบลหารเทาได้จัดเก็บขยะอาทิตย์ละ 1 ครั้ง/หมู่บ้าน ปริมาณขยะมูลฝอยประมาณ 1.84 ตัน/วัน 55.30 ตัน/เดือน และ663.60 ตัน/ปี โดยรถยนต์บรรทุกขยะมูลฝอยแบบเปิดข้างเทท้ายขนาดความจุ 12 ลบ.ม. จำนวน 1 คัน สถานที่กำจัดโดยใช้บริการเอกชนภายนอกตำบลหารเทา ไม่มีถังขยะบริการโดยจะเก็บขยะหลังครัวเรือนคัดแยกแล้ว เหลือขยะที่ต้องกำจัดโดยการอำนวยความสะดวกจากเทศบาลตำบลหารเทา พนักงานเก็บ จำนวน 2 คน พนักงานขับรถ จำนวน 1 คน มีค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการขยะ เช่น ค่าน้ำมันรถ ค่าซ่อมแซมรถ ค่าจ้างพนักงาน ค่าเช่าที่ทิ้งขยะ รวมค่าใช้จ่าย 1,112,880 บาทต่อปี ประชาชนมีการคัดแยกในระดับครัวเรือนทุกครัวเรือน แต่ยังขาดการนำขยะหลังการคัดแยกไปใช้ประโยชน์ทำให้เกิดปัญหาขยะสดมีปริมาณมากขึ้นทุกปี ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของชุมชน อีกทั้งขยะสะสมเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง เป็นบ่อเกิดของโรคไข้เลือดออกทำให้เกอดปัญหาด้านสุขภาพและปัญหาด้านเศรษฐกิจครัวเรือน
ในส่วนขแงผลกระทบต่อสังคมมีเรื่องร้องเรียนการนำขยะจากภายนอกพื้นที่มาทิ้งที่บริเวณไหล่ทางในบางพื้นที่เนื่องจากมีพื้นที่ติดต่อกับอำเภออื่น จากปัญหาข้างต้นจึงส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มีกลิ่นขยะในพื้นที่รอยต่อ อีกทั้งในพื้นที่ชุมชนมีตลาดนัด จำนวน 1 แห่งจำหน่ายสินค้า จำนวน 3 วันต่อสัปดาห์ เป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหาขยะเนื่องจากแม่ค้ายังขาดความรู้เรื่องการคัดแยกและการจัดการขยะที่ถูกวิธี และลูกค้า คน ในชุมชนยังไม่ตระหนักในการใช้ถุงผ้าหรืออุปกรณ์ทดแทนถุงพลาสติกอย่างยั่งยืน
ในพื้นที่ตำบลหารเทามีแหล่งสาธารณประโยชน์ที่ใช้ร่วมกัน เช่น แหล่งน้ำ ถนน ลำคลอง ที่ขาดการดูแลรักษาความสะอาดอย่างต่อเนื่องจึงก่อให้เกิดปัญหาขยะตามธรรมชาติ เช่น ผักตบชวาในแหล่งน้ำ วัชพืชน้ำ ป่าหญ้าไหล่ทาง ก่อให้เกิดปัญหาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ทั้งนี้เทศบาลตำบลหารเทาได้ให้ความสำคัญในการจัดการขยะ โดยมุ่งหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือ ปริมาณขยะลดลงและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น โดยให้เกิดกลไกการจัดการขยะในระดับครัวเรือน/ระดับชุมชน และให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ มีกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะและส่งต่อให้การเรียนรู้สู่เยาวชนรุ่นหลัง ผลักดันให้เกิดภาคีเครือข่ายการจัดการขยะในกลุ่มเยาวชนอย่างยั่งยืน มีการผลักดันเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรของสถานศึกษาในพื้นที่ จากการดำเนินงานโครงการจะทำให้เกิดประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของ Node Flagship ที่ขัยบคลื่อนให้ประเด็นสุขภาวะในระดับจังหวัดตามกรอบเป้าหมายระยะยาว Phatthalung Green City ได้รับการแก้ไขอย่างมีส่วนร่วมสามารถบรรลุเป้าหมายการลดขยะในระดับภาพรวมของจังหวัดต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือนและระดับชุมชนอย่างเป็นระบบและยั่งยืน
  2. 2.เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างหลักสูตรเรียนรู้ในสถานศึกษา
  3. 3.เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ
  4. 4.เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน
  2. 2.การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ จำนวน 6 ครั้ง
  3. 3.เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)
  4. 4.พัฒนาศักยภาพบูรณาการการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม
  5. 5.ให้ความรู้การจัดการขยะให้กับกลุ่มเป้าหมาย
  6. 6.รักษ์หารเทา
  7. 7.การติดตามประเมินผลเชิงรุก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 140
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือนและระดับชุมชนอย่างเป็นระบบและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : 1.มีคณะทำงานที่มาจากหลายภาคส่วน 2.มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ชัดเจน 3.มีแผนการดำเนินงาน 4.มีการประชุมทุก 2 เดือน 5.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถจัดการขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ
0.00

 

2 2.เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างหลักสูตรเรียนรู้ในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายจัดการขยะอินทรีย์ได้อย่างถูกวิธีและยั่งยืน อย่างน้อย 90% 2.มีการบันทึกการจัดการขยะอย่างเป็นรูปธรรม (ครัวเรือนเป็นผู้บันทึกข้อมูลลงในสมุด สมุดพกปกเขียว โดยมีคณะทำงานเป็นผู้ตรวจสอบ)
0.00

 

3 3.เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.มีการติดตามการจัดการขยะในกลุ่มเป้าหมายทุก 3 เดือน เพื่อส่งมอบคนดีมีรางวัลสู่สังคม 2.มีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 110 แห่ง 3.หนองน้ำปลอดภัย 4.ถนนปลอดขยะ 1 สาย
0.00

 

4 4.เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง
ตัวชี้วัด : 1.ปริมาณขยะที่เทศบาลตำบลหารเทาจัดเก็บลดลงร้อยละ 30 2.มีการใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 50
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 140
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือนและระดับชุมชนอย่างเป็นระบบและยั่งยืน (2) 2.เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างหลักสูตรเรียนรู้ในสถานศึกษา (3) 3.เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ (4) 4.เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน (2) 2.การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ จำนวน 6 ครั้ง (3) 3.เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) (4) 4.พัฒนาศักยภาพบูรณาการการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม (5) 5.ให้ความรู้การจัดการขยะให้กับกลุ่มเป้าหมาย (6) 6.รักษ์หารเทา (7) 7.การติดตามประเมินผลเชิงรุก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการจัดการขยะอินทรีย์ในเทศบาลตำบลหารเทา จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3339-02-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชัยทัต สามารถ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด