กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหมอประจำบ้านดูเเลทุกกลุ่มวัย ประจำปี 2565
รหัสโครงการ 65-L8406-02-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลควนโดน
วันที่อนุมัติ 16 มิถุนายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 กรกฎาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 25,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมอฮัมหมาด เทศอาเส็น
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานคนพิการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 55 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)
60.00
2 ร้อยละของผู้ดูแลหรือญาติสามารถให้การดูแลผู้พิการได้
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลควนโดน ได้เล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ด้วยการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค และปรับเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการสร้างเสริมสุขภาพให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย1. กลุ่มเด็ก 0-5 ปี2. กลุ่มสตรีมีครรภ์3. กลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 4. กลุ่มผู้พิการและผู้ป่วยจิตเวช 5. กลุ่มผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้าน และ 6. กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ในชุมชน อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง และให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อเข้าไปดูแลและจัดการให้บริการสุขภาพเชิงรุกในชุมชน และ การส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่จำเป็น อย่างเสมอภาคเป็นธรรมนั้น การที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว กลยุทธ์หนึ่งที่สำคัญ คือการมีหมอประจำครอบครัว เพื่อให้ทุกครัวเรือนมีญาติเป็นหมอและสามารถพึ่งพาได้ทุกเมื่อ เพื่อเข้าไปดูแลและจัดการให้บริการสุขภาพเชิงรุกในชุมชน รวมทั้งการสรุปวิเคราะห์ข้อมูล แก้ปัญหาสุขภาพในชุมชนที่รับผิดชอบ พร้อมทั้งสร้างแกนนำประจำครอบครัว เพื่อให้มีความรู้ด้านสุขภาพที่จำเป็นแก่ครัวเรือนสามารถช่วยเหลือตัวเองเบื้องต้นทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาลเบื้องต้นและ การฟื้นฟูสภาพ ซึ่งในช่วงสถานการณ์โควิด-๑๙ ที่ผ่านมา ทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ไม่ได้ดำเนินการ ติดตามเยี่ยม เนื่องจากสถานการณ์ในพื้นที่พบผู้ติดเชื้อค่อนข้างเยอะ ทำให้ขาดการรายงานการติดตามจึงพบว่า บางครอบครัว ที่ผู้ป่วย ผู้ด้อยโอกาส ยังขาดการดูแลที่เหมาะสม มีอาการแทรกซ้อน ทำให้ขาดคุณภาพชีวิตที่ดีจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อต่อยอด จากการดำเนินงานให้เกิดกระบวนการ การมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัย ขึ้น เพื่อ สร้าง พัฒนา นักจัดการสุขภาพในพื้นที่เพิ่มขึ้น และ ให้มีอาสาสมัครประจำครอบครัว ( อสค.) ขึ้น เพื่อเชื่อมการทำงานในระดับชุมชน สู่การดูแลในระดับครอบครัว เพื่อพัฒนาระบบการออกเยี่ยมบ้าน การออกแบบการช่วยเหลือร่วมกันในการดูแล การติดตาม หรือการประสานงานภาคีเครือข่ายภายนอก ในการร่วมช่วยเหลือในการดำเนินชีวิต กรณีผู้ด้อยโอกาส และ เพื่อให้เข้าถึงบริการคุณภาพที่มีประสิทธิภาพ มีความรู้ด้านสุขภาพที่จำเป็นแก่ครัวเรือน สามารถช่วยเหลือตัวเองเบื้องต้น ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาลเบื้องต้น การฟื้นฟูสภาพ การป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อขยายผลการพัฒนารูปแบบคลินิกหมอครอบครัวในพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล

จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

60.00 60.00
2 เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ

ร้อยละของผู้ดูแลหรือญาติสามารถให้การดูแลผู้พิการได้

60.00 60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 25,000.00 5 25,000.00
18 - 19 ก.ค. 65 จัดเวทีพัฒนา ทักษะทีม หมอประจำครอบครัว หมอคนที่ 1 โดยเป็นตัวแทนของแต่ละหมู่บ้าน รวม ๖๐ คน จำนวน 2 วัน 0 12,000.00 12,000.00
26 ก.ค. 65 ออกปฏิบัติงานตามแผนแบบบูรณาการ 0 0.00 0.00
26 ก.ค. 65 ออกปฏิบัติงานตามแผนแบบบูรณาการ ร่วมกับทีมหมอประจำครอบครัว ในการดูแล แนะนำ ให้คำชี้แนะ และให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพในกลุ่มเป้าหมาย 0 0.00 0.00
3 - 4 ส.ค. 65 จัดเวทีเชิงปฏิบัติการแกนนำชุมชน อาสาสมัครประจำครอบครัว ในการส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยที่เป็นปัญหาเพื่อการติดตาม ในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จำนวน 2 วัน 0 10,000.00 10,000.00
15 ส.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 ออกปฏิบัติงานตามแผนแบบบูรณาการ 0 3,000.00 3,000.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามเยี่ยมส่งเสริมสุขภาพร้อยละ 100 และกลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาได้รับการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหา ร้อยละ 85 พร้อมทั้งมีเครือข่ายแกนนำด้านสุขภาพในชุมชนโดยการมีส่วนร่วม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 มิ.ย. 2565 00:00 น.