กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองแรต


“ โครงการชาวหนองแรตร่วมใจรงณรงค์คัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565 ”



หัวหน้าโครงการ
นายกอดะ เจาะมะ

ชื่อโครงการ โครงการชาวหนองแรตร่วมใจรงณรงค์คัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 65-L3050-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวหนองแรตร่วมใจรงณรงค์คัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองแรต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวหนองแรตร่วมใจรงณรงค์คัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต (2) 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามตรวจซ้ำ (3) 3 ประชากรกลุ่มที่สงสัยป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อเพื่อรับรับวินิจฉัยจากแพทย์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3.จัดประชุมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยให้ความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต. (2) 4. ติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังจากเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่ประจำโรงพาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเป็นจำนวน 3 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน โดยการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด  วัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง วัดรอบเอวและประเ (3) 1จัดประชุมชี้แจงโครงการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต. แก่อาสาสมัครชุมชน แจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมายพร้อมจัดทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตในเขตรับผิดชอบ (4) 2.ดำเนินงานตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด.....1,082.........คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มโรค NCDs (Noncommunicable diseases หรือโรคไม่ติดต่อ) ยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกทั้งในมิติของจำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม โดยประเทศไทย มีอัตราการเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อต่ำสุดเมื่อเทียบในกลุ่มประเทศภูมิภาคเอเชียใต้-ตะวันออก (SEARO) จากข้อมูลปีพ.ศ.2559
โรคไม่ติดต่อยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของประชาชนไทยทั้งในแง่ภาระโรคและอัตราการเสียชีวิตอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (30-69 ปี) จากโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ประกอบด้วย โรคหลอดเลือดสมอง, โรคหัวใจขาดเลือด, โรคเบาหวาน,ภาวะความดันโลหิตสูง และโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปีพ.ศ. 2557 ถึงปีพ.ศ. 2559 หลังจากนั้นมีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยและคงที่ในปีพ.ศ. 2561 โดยโรคหลอดเลือดสมองมีอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรสูงที่สุดเท่ากับ 44.3 รายต่อประชากรแสนคน และอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรด้วยโรคหลอดเลือดสมองในผู้ชายสูงกว่าเพศหญิง จากการดำเนินงานโรคคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองแรต ในกลุ่ม 35 ปีขึ้นไป ที่ยังไม่ป่วยโรคทั้งสองโรค ใน 3 ปี ย้อนหลังตั้งแต่ปีพ.ศ.2562- ปีพ.ศ.2564 พบว่าในปีงบประมาณ 2562 จำนวนประชากร 3,465 ราย พบจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ 10 รายคิดเป็น 288.60 และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 25 รายคิดเป็น 721.50 ต่ออัตราป่วยรายใหม่ต่อแสนประชากร ในปีงบประมาณ 2563 จำนวนประชากร 3,546 ราย พบจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ 2 รายคิดเป็น 56.40 และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 18 รายคิดเป็น 507.61 ต่ออัตราป่วยรายใหม่ต่อแสนประชากร ในปีงบประมาณ 2564 จำนวนประชากร 3,620 ราย พบจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ 3 รายคิดเป็น 82.87 และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 27 รายคิดเป็น 745.86
ต่ออัตราป่วยรายใหม่ต่อแสนประชากร จากสถานการณ์ข้างต้น จึงเห็นได้ว่า แนวโน้มของประชากรที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง และสงสัยป่วยมีจำนวนเพิ่มขึ้น ดังนั้นตำบลหนองแรต อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี มีจำนวนประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ไม่ใช่ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ทั้งหมด1,082 คน ดังนั้น ชมรมสร้างเสริมสุขภาพตำบลหนองแรตร่วมกับอาสาสมัครประจำหมู่บ้านตำบลหนองแรต อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานีจึงต้องดำเนินงานเน้นนโยบายเชิงรุกป้องกัน ลดโรคโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการชาวหนองแรตร่วมใจรงณรงค์คัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต
  2. 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามตรวจซ้ำ
  3. 3 ประชากรกลุ่มที่สงสัยป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อเพื่อรับรับวินิจฉัยจากแพทย์
  4. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  5. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 3.จัดประชุมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยให้ความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต.
  2. 4. ติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังจากเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่ประจำโรงพาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเป็นจำนวน 3 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน โดยการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด วัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอวและประเ
  3. 1จัดประชุมชี้แจงโครงการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต. แก่อาสาสมัครชุมชน แจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมายพร้อมจัดทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตในเขตรับผิดชอบ
  4. 2.ดำเนินงานตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด.....1,082.........คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,082
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 ประชากร 35 ปีขึ้นไปในตำบลหนองแรตได้รับการคัดกรองเฝ้าระวังและการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 7.2 ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีความรู้ มีทัศคติ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องอย่างเหมาะสม ลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 7.3 ประชากรกลุ่มสงสัยป่วยรายใหม่ได้รับการส่งต่อ เพื่อการรักษาตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน และคความดันโลหิตสูง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 3.จัดประชุมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยให้ความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต.

วันที่ 3 มกราคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-บรรยายให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่กลุ่มเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีความรู้ มีทัศคติ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องอย่างเหมาะสม ลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90

 

60 0

2. 4. ติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังจากเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่ประจำโรงพาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเป็นจำนวน 3 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน โดยการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด วัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอวและประเ

วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังจากเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่ประจำโรงพาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเป็นจำนวน  3  ครั้ง  ห่างกัน  1  เดือน  โดยการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด  วัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง  วัดรอบเอวและประเมินดัชนีมวลกายพร้อมคืนข้อมูลผลการตรวจซ้ำให้กับกลุ่มเป้าหมายรับทราบภาวะสุขภาพของตนเองเป็นรายบุคคล จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน .....60........คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ค่าความดันหลังครบติดตาม 3 ครั้ง ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานหลังเข้าอบรมโครงการ พบค่าความดันอยู่ในกลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 53.33 รองลงมาค่าความดันอยู่ในเกณฑ์ปกติลดลง คิดเป็นร้อยละ 46.67 และไม่พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานค่าความดันอยู่ในเกณฑ์เสี่ยงสูงกับสงสัยป่วย -ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงเบาหวานหลังครบการติดตาม 3 ครั้ง พบว่า กลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ดีขึ้น ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) อยู่ในเกณฑ์ ปกติ มากสุด คิดเป็นร้อยละ 46.67 รองลงมาค่าดัชนีมวลกาย (BMI)อยู่ในเกณฑ์ น้ำหนักเกิน คิดเป็นร้อยละ 36.67  ต่อมาค่าดัชนีมวลกาย (BMI)อยู่ในเกณฑ์ อ้วน คิดเป็นร้อยละ 13.33 และค่าดัชนีมวลกาย (BMI)อยู่ในเกณฑ์น้อยที่สุด ผอม
คิดเป็นร้อยละ 3.33
-ผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ดีขึ้น ก่อนเข้าร่วมโครงการ ดังนี้ - ผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) ปกติ หลังเข้าร่วมโครงการ ดีขึ้น จำนวน 25 คน
คิดเป็นร้อยละ 83.33 - ผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) มีภาวะเสี่ยง หลังเข้าร่วมโครงการ ลดลง จำนวน 5 คน
คิดเป็นร้อยละ 83.33 - ผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) ไม่พบมีสงสัยเบาหวาน หลังเข้าร่วมโครงการ -ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูง ดีขึ้น ก่อนเข้าร่วมโครงการ ดังนี้ - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ ปกติ ดีขึ้น หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 9 คน
คิดเป็นร้อยละ 30 - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ เสี่ยง ดีขึ้น หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 17 คน
คิดเป็นร้อยละ 56.67 - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ เสี่ยงสูง ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 3 คน
คิดเป็นร้อยละ 10 - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ สงสัยป่วย ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 10 เพื่อส่งต่อพบแพทย์เพื่อให้ได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้อง -ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูง ดีขึ้น ก่อนเข้าร่วมโครงการดังนี้ - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ ผอม เท่าเดิม หลังเข้าร่วมโครงการ
จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ ปกติ ดีขึ้น หลังเข้าร่วมโครงการ
จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ น้ำหนักเกินเกณฑ์ ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ
จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40 - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ อ้วน ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ
จำนวน 3  คน คิดเป็นร้อยละ 10

 

60 0

3. 1จัดประชุมชี้แจงโครงการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต. แก่อาสาสมัครชุมชน แจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมายพร้อมจัดทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตในเขตรับผิดชอบ

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 รวบรวมรายชื่อประชากรที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่ไม่ใช่ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จากฐานข้อมูลประชากร 2 ประชุมชี้แจงอสม. รับทราบโครงการพร้อมจัดทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุก  ในการดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต ในเขตรับผิดชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 อสม. รับทราบโครงการพร้อมจัดทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุก  ในการดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต ในเขตรับผิดชอบ 2.ออกประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายรับทราบเพื่อรับบริการตามวันและเวลาที่กำหนด

 

50 0

4. 2.ดำเนินงานตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด.....1,082.........คน

วันที่ 7 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นเตรียมการ ประชุมชี้แจ้งโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขแก่ อสม. พร้อมจัดทำแผนการออกปฏิบัติงานคัดกรองเชิงรุกในพื้นที่หมู่ที่1 - หมู่6 ตามละแวกที่นัดเป้าหมายไว้
  2. ขั้นดำเนินงาน 2.1 ดำเนินการตรวจสุขภาพเชิงรุกและคัดกรองความเสี่ยงสุขภาพประชาชน อายุ ๓๕ ปีขึ้นไป โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขพร้อมอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ตามหมู่ ประกอบด้วยกิจกรรมต่อไปนี้ 2.2 การประเมินพฤติกรรมสุขภาพเบื้องต้นโดยใช้แบบสอบถามเพื่อคัดกรอง โดยอาสาสมัครสาธารณสุข 2.3 การตรวจสุขภาพโดย อสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดัน เจาะน้ำตาลเลือดที่ปลายนิ้ว ประเมินค่า BMI เป็นต้น 2.4 จัดทำทะเบียนแยกกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยป่วย นำข้อมูลไปคีย์ในโปรแกรม JHCIS 2.5 รวบรวมข้อมูลรายชื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและกลุ่มสงสัยป่วยรายใหม่เพื่อดำเนินการส่งต่อทันที
    2.6 ติดตามตรวจซ้ำวัดความดันโลหิต (Home BP) และตรวจระดับน้ำตาลในเลือดในกลุ่มเสี่ยงสูง ภายใน 3 เดือน
    กลุ่มสงสัยป่วย ส่งต่อเพื่อให้ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ ให้ได้เข้าระบบการรักษาที่ถูกต้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานตรวจคัดกรอง ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป้าหมาย 1,082 คน ได้รับการคัดกรองเป็นจำนวน 1,049 คน คิดเป็นร้อยละ 96.95
กลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคเบาหวาน กลุ่มปกติ  จำนวน 690 คน คิดเป็นร้อยละ 65.77 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 336 คน คิดเป็นร้อยละ 32.03 กลุ่มกลุ่มสงสัยป่วย จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 2.09  และได้รับการติดตามตรวจซ้ำ จำนวน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 81.82 กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการส่งต่อเพื่อได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.54 กลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 843 คน กลุ่มปกติ จำนวน  135 คิดเป็นร้อยละ 16.01 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 661 คิดเป็นร้อยละ 78.41 กลุ่มสงสัยป่วย จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 4.50
ได้รับการส่งต่อ 9 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.68

 

1,082 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน : กิจกรรมคัดกรอง กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจ้งโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขแก่ อสม. พร้อมจัดทำแผนการออกปฏิบัติงานคัดกรองเชิงรุกในพื้นที่หมู่ที่1 - หมู่6 ตามละแวกที่นัดเป้าหมายไว้
กิจกรรมที่ 2 ดำเนินงานตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตในชุมชน สรุปผลการดำเนินงานตรวจคัดกรอง ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป้าหมาย 1,082 คน ได้รับการคัดกรองเป็นจำนวน 1,049 คน คิดเป็นร้อยละ 96.95
กลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคเบาหวาน
กลุ่มปกติ จำนวน 690 คน คิดเป็นร้อยละ 65.77 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 336 คน คิดเป็นร้อยละ 32.03 กลุ่มกลุ่มสงสัยป่วย จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 2.09 และได้รับการติดตามตรวจซ้ำ จำนวน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 81.82 กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการส่งต่อเพื่อได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.54 กลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 843 คน กลุ่มปกติ จำนวน 135 คิดเป็นร้อยละ 16.01 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 661 คิดเป็นร้อยละ 78.41 กลุ่มสงสัยป่วย จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 4.50 ได้รับการส่งต่อ 9 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.68

ผลการดำเนินงาน : กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และติดตามกลุ่มเสี่ยง สรุปผลการติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ผลการติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน
ตารางที่ 1 ผลการคัดกรองวัดความดันครั้งที่ 1 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 30 คน ก่อนเข้าอบรมโครงการ
แสดงให้เห็นว่าค่าความดันกลุ่มเสี่ยงเบาหวานอยู่ในเกณฑ์ปกติมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 43.33 รองลงมาค่าความดันอยู่ในกลุ่มเสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 50 และค่าความดันอยู่ในกลุ่มเสี่ยงสูง คิดเป็นร้อยละ 6.66 และไม่พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานค่าความดันอยู่ในเกณฑ์สงสัยป่วย ตารางที่ 2 ผลการคัดกรองค่าความดันหลังครบติดตาม 3 ครั้ง ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 30 คน หลังเข้าอบรมโครงการ
แสดงให้เห็นว่าค่าความดันหลังครบติดตาม 3 ครั้ง ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานหลังเข้าอบรมโครงการ พบค่าความดันอยู่ในกลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 53.33 รองลงมาค่าความดันอยู่ในเกณฑ์ปกติลดลง คิดเป็นร้อยละ 46.67 และไม่พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานค่าความดันอยู่ในเกณฑ์เสี่ยงสูงกับสงสัยป่วย ตารางที่ 3 ผลการคัดกรองค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ครั้งที่ 1 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 30 คน ก่อนเข้าอบรมโครงการ
แสดงให้เห็นว่าค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงเบาหวานอยู่ในเกณฑ์มากที่สุดที่น้ำหนักเกิน ค่าBMI 23.0-24.9 คิดเป็นร้อยละ 46.67 รองลงมาปกติค่าBMI 18.5-22.9 คิดเป็นร้อยละ 33.33 ต่อมาผอมค่าBMI 25.0 คิดเป็นร้อยละ 16.67
ตารางที่ 4 ผลการคัดกรองค่าดัชนีมวลกาย (BMI) หลังครบติดตาม 3 ครั้ง ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 30 คน หลังเข้าอบรมโครงการ
แสดงให้เห็นว่าค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงเบาหวานหลังครบการติดตาม 3 ครั้ง พบว่า กลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ดีขึ้น ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) อยู่ในเกณฑ์ ปกติ มากสุด คิดเป็นร้อยละ 46.67 รองลงมาค่าดัชนีมวลกาย (BMI)อยู่ในเกณฑ์ น้ำหนักเกิน คิดเป็นร้อยละ 36.67 ต่อมาค่าดัชนีมวลกาย (BMI)อยู่ในเกณฑ์ อ้วน คิดเป็นร้อยละ 13.33 และค่าดัชนีมวลกาย (BMI)อยู่ในเกณฑ์น้อยที่สุด ผอม
คิดเป็นร้อยละ 3.33
ตารางที่ 5 ผลการคัดกรองค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 30 คน ก่อน- หลัง เข้าอบรมโครงการ
แสดงให้เห็นผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ดีขึ้น ก่อนเข้าร่วมโครงการ ดังนี้ - ผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) ปกติ หลังเข้าร่วมโครงการ ดีขึ้น จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 - ผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) มีภาวะเสี่ยง หลังเข้าร่วมโครงการ ลดลง จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 - ผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) ไม่พบมีสงสัยเบาหวาน หลังเข้าร่วมโครงการ ตารางที่ 6 ผลการคัดกรองวัดความดัน กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 30 คน ก่อน- หลังเข้าอบรมโครงการ
แสดงให้เห็นผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูง ดีขึ้น ก่อนเข้าร่วมโครงการ ดังนี้ - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ ปกติ ดีขึ้น หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 30 - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ เสี่ยง ดีขึ้น หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 56.67 - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ เสี่ยงสูง ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ สงสัยป่วย ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10 เพื่อส่งต่อพบแพทย์เพื่อให้ได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้อง
ตารางที่ 7 ผลการคัดกรองค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 30 คน ก่อน- หลังเข้าอบรมโครงการ
แสดงให้เห็นผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูง ดีขึ้น ก่อนเข้าร่วมโครงการดังนี้ - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ ผอม เท่าเดิม หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ ปกติ ดีขึ้น หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ น้ำหนักเกินเกณฑ์ ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40 - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ อ้วน ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต
82.00 90.00 95.00

 

2 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามตรวจซ้ำ
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละประชากรกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามตรวจซ้ำ
56.40 90.00 100.00

 

3 3 ประชากรกลุ่มที่สงสัยป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อเพื่อรับรับวินิจฉัยจากแพทย์
ตัวชี้วัด : 3 ร้อยละประชากรกลุ่มที่สงสัยป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อเพื่อรับรับวินิจฉัยจากแพทย์
50.00 90.00 80.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
30.00

 

5 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1082 1049
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,082 1,049
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต (2) 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามตรวจซ้ำ (3) 3 ประชากรกลุ่มที่สงสัยป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อเพื่อรับรับวินิจฉัยจากแพทย์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3.จัดประชุมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยให้ความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต. (2) 4. ติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังจากเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่ประจำโรงพาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเป็นจำนวน 3 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน โดยการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด  วัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง วัดรอบเอวและประเ (3) 1จัดประชุมชี้แจงโครงการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต. แก่อาสาสมัครชุมชน แจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมายพร้อมจัดทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตในเขตรับผิดชอบ (4) 2.ดำเนินงานตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด.....1,082.........คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการชาวหนองแรตร่วมใจรงณรงค์คัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565

รหัสโครงการ 65-L3050-01-05 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2564 - 30 ธันวาคม 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าในการเลือกบริโภคให้เหมาะสมกับวัยและเหมาะสมตามโภชนาการ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ประชาชนมีความรู้ความเข้าในการปฏิบัติตนที่เหมาะสมในการป้องกันโรคเบาหวานและความดัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

ประชาชนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลตนเอง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

ประชาชนสามารถดูแลตนเองและสามารถถ่ายทอดความรู้แก่คนในครอบครัวและชุมชน

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการชาวหนองแรตร่วมใจรงณรงค์คัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565 จังหวัด

รหัสโครงการ 65-L3050-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกอดะ เจาะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด