กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านควน ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางนฤมล โต๊ะหลัง

ชื่อโครงการ โครงการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านควน ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5307-1-02 เลขที่ข้อตกลง 12/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านควน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านควน ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านควน ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5307-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครองและความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ในปัจจุบันส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน ประชาชนต้องรีบเร่งแข่งขันกับเวลา ทำให้ขาดการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว ส่งผลให้เจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สาเหตุมาจากพฤติกรรมการปฏิบัติตัวที่ไม่ถูกต้อง คือขาดการออกกำลังกาย กินผักผลไม้ที่ไม่เพียงพอ รวมทั้งอาหารที่มันจัด เค็มจัด หวานจัดความเครียดและการสูบบุหรี่ เป็นต้น ทางกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยมีการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคโดยมีเป้าหมายประชากรอายุ 35ปีขึ้นไปทุกรายที่ไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ต้องได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงด้วยการ วัดความดันโลหิต ตรวจน้ำตาลในเลือด ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและการวัดเส้นรอบพุง เพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงและค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น ปัญหากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและถือว่าเป็น “ภัยเงียบ”เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ โดยประชาชนที่เสี่ยงหรือป่วยถ้าไม่ได้รับการวินิจฉัยและการรักาที่เหมาะสมก็อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนอาจเสียชีวิตเฉียบพลันหรืออาจเกิดความพิการที่ไม่อาจแก้ไขได้ เช่นโรคไตวาย ตาบอดโรคหลอดเลือดสมองตีบและโรคหลอดเลือดสมองแตกได้ จากผลการดำเนินงานคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป ใน ม.1 และม.4 ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ในปี 2565 ผลการคัดกรองโรคเบาหวาน จากกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรอง จำนวน 913 คน พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 4.12 กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 0.43 และผลงานการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจากกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรอง จำนวน 829 คน พบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 10.15 กลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 2.62 และพบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 4 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 5 คน เป็นผู้ป่วยรายใหม่ที่เกิดจากกลุ่มสี่ยงสูง ถ้ากลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง จะสามารถป้องกันและหลีกเลี่ยงโรคดังกล่าวได้และการดูแลสุขภาพในกลุ่มป่วย ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน ตำบลบ้านควน
มีผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 31 คน โรคเบาหวาน 28 คน โรคความดันโลหิตสูง 74 ราย รวมทั้งหมด 133 คนซึ่งเป็นกลุ่มป่วยที่ต้องได้รับการดูแล และให้คำแนะนำอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน ตำบลบ้านควน อ.เมืองจ.สตูลได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงจึงจัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ สามารถดูแลตนเอง และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดการเกิดโรคเรื้อรังและภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชากรเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมด้วยหลัก 3อ 2ส
  2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ให้ได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างเป็นระบบ
  3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมและติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. จัดอบรมและติดตามกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้ถูกต้องมากขึ้น
2.ผู้ป่วยรายใหม่ลดลงจากปีก่อน
3.การเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมและติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ประเมินความรู้ก่อนอบรม
-ให้ความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการปฏิบัติตัว
-สาธิตและฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย
-กิจกรรมเวียนฐานความรู้ (แบ่งเป็น 3 ฐาน ฐานที่ 1อาหารเพื่อสุขภาพและ Model อาหาร ฐานที่ 2 ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย ฐานที่ 3 การผ่อนคลายความเครียด)
-หลังการอบรม แจ้งแผนออกติดตามประเมินสุขภาพกลุ่มเสี่ยงซ้ำทุก 3 เดือน และ 6 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ถูกต้องมากขึ้น

 

0 0

2. จัดอบรมและติดตามกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ ผู้ป่วย CKD stage 3a และ 3ิฺb ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ผู้ป่วยที่มีระดับน้ำตาลสะสมมากกว่าหรือเท่ากับ 7.5 และผู้ป่วยที่มีระดับความดันโลหิตมากกว่าหรือเท่ากับ 160/100 mmHg

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 44 คน ระดับความดันโลหิตลดลงหลังติดตาม 2 เดือน จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 68.18 ติดตาม 4 เดือน จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 81.81
กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 16 คน ระดับน้ำตาลในเลือดลดลงหลังติดตาม 2 เดือน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 75 หลังติดตาม 4 เดือน 15 คิดเป็นร้อยละ 93.75

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชากรเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมด้วยหลัก 3อ 2ส
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีค่าระดับน้ำตาล,ค่าความดันโลหิตลดลงจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ(ลดลงจาการตรวจครั้งแรก ติดตามหลังการอบรม 3 เดือนและ 6 เดือน)
50.00 60.00 81.81

กลุ่มเสียงสูงโรคความดันโลหิตสูง

2 เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ให้ได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างเป็นระบบ
50.00 100.00 100.00

ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างเป็นระบบ

3 เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค
50.00 80.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชากรเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมด้วยหลัก 3อ 2ส (2) เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ให้ได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างเป็นระบบ (3) เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมและติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) จัดอบรมและติดตามกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านควน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5307-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนฤมล โต๊ะหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด