กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการหยุดยั้งฟันผุ ด้วยวิธี SMART ร่วมกับซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เขตตำบลกำแพง ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายปวิตร วณิชชานนท์

ชื่อโครงการ โครงการหยุดยั้งฟันผุ ด้วยวิธี SMART ร่วมกับซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เขตตำบลกำแพง

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2566-L8010-1-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหยุดยั้งฟันผุ ด้วยวิธี SMART ร่วมกับซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เขตตำบลกำแพง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหยุดยั้งฟันผุ ด้วยวิธี SMART ร่วมกับซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เขตตำบลกำแพง



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฟื้นฟูให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครองเด็กและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) เพื่อให้เด็กปฐมวัย เข้าถึงบริการทางทันตกรรมและได้รับการบูรณะฟันน้ำนมเพิ่มขึ้น (3) เพื่อลดการผุลุกลามและหยุดยั้งฟันน้ำนมผุในเด็กปฐมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมด้านการส่งเสริมป้องกัน (2) กิจกรรมด้านการรักษา/ฟื้นฟู (3) กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงาน (4) รายงานผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคฟันผุเป็นโรคติดเชื้อเรื้อรังที่พบมากในเด็ก และยังคงเป็นปัญหาทางทันตสาธารณสุขที่สําคัญของประเทศไทย จากผลการสํารวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 พบว่าเด็กไทยอายุ 3 ปี มีความชุกในการเกิดฟันผุ ร้อยละ 52.9 ค่าเฉลี่ยฟันผุถอนอุด (dmft) 2.8 ซี่/คน ซึ่งไม่ได้รับการรักษาคิดเป็นร้อยละ 52.0 ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของอาการเจ็บปวดและการสูญเสียฟันน้ำนม เด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ 2.3 มีประสบการณ์การสูญเสียฟันในช่องปาก นอกจากนั้นพบว่าเด็กในเขตภาคใต้มีความจำเป็นต้องได้รับบริการรักษาทางทันตกรรมมากที่สุด จากการสำรวจเด็กทั้งหมดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพงในปี พ.ศ. 2560 - 2564 จำนวน 6 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนไสน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าแลหลา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากปิง ศูนย์พํฒนาเด็กเล็กบ้านปิใหญ่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าฝาง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตูแตหรำ พบฟันผุร้อยละ 72.6, 69.2, 53.04, 68.45 และ 74.25 ตามลำดับ เด็กอายุ 3 ปี มีค่าเฉลี่ยฟันผุประมาณ 3.42 ซี่ต่อคน จากข้อมูลดังกล่าวพบว่ามีอุบัติการณ์โรคฟันผุสูง และพบว่าเด็กส่วนใหญ่ไม่ได้รับการรักษาด้วยการอุดฟันหรือหยุดยั้งฟันผุ ทำให้มีฟันผุลุกลามจนทะลุโพรงประสาทฟัน เกิดอาการปวดทรมาน ทำให้เด็กไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ รับประทานอาหารได้น้อยลง เกิดภาวะขาดสารอาหาร ซึ่งส่งผลกระทบต่อการพัฒนาการ การเจริญเติบโตของร่างกายและคุณภาพชีวิตของเด็ก

โรคฟันผุในเด็กเล็กสามารถป้องกันได้ด้วยการแปรงฟันให้สะอาดอย่างสม่ำเสมอโดยผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก เพื่อลดการสะสมของคราบจุลินทรีย์ แต่เมื่อมีการผุจนสูญเสียแร่ธาตุและเนื้อฟันเป็นโพรงเกิดขึ้นแล้ว การรักษาจึงต้องเป็นการหยุดยั้งเพื่อไม่ให้ผุลุกลามไปสู่โพรงประสาทฟันจนมีอาการปวดได้ ซึ่งแนวทางการรักษาต้องเป็นการเก็บรักษาเนื้อฟันไว้ให้ได้มากที่สุด ควบคุมการสะสมของแผ่นคราบจุลินทรีย์ ก็จะช่วยให้เกิดการหยุดยั้งของรอยโรคโพรงฟันผุได้ เกิดเป็นรอยโรคฟันผุที่หยุดยั้ง (Arrested carious lesion) ซึ่งรอยผุมีลักษณะแข็งขึ้น การรักษาที่มีการเก็บรักษาเนื้อฟันให้ได้มากที่สุด (Non-invasive treatment or minimal invasive treatment) เช่น การใช้ฟลูออไรด์วาร์นิช ซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ และบูรณะฟันด้วยวิธี Simplified and Modified Atraumatic Restoration Treatment (SMART) เป็นต้น การอุดฟันโดยวิธี SMART เป็นเทคนิคการอุดฟันที่คิดค้นเพื่อใช้ในการบูรณะฟันในกรณีที่ไม่สามารถจัดบริการรักษาแบบปกติได้ บูรณะด้วยกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ มีคุณสมบัติปลดปล่อยฟลูออไรด์ ลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียในช่องปาก เพิ่มการคืนกลับของแร่ธาตุ ควบคุมการลุกลามและการดำเนินของโรคฟันผุ ป้องกันการเกิดฟันผุซ้ำ ซึ่งประสิทธิผลในการบูรณะด้วยวิธีนี้มีประโยชน์ในการจัดการฟันน้ำนมผุลุกลามรุนแรงในเด็กเล็ก ใช้เครื่องมือพื้นฐานใช้มือ (Hand instrument) ในการอุดฟัน ให้อัตราความสำเร็จในการรักษาสูง การทบทวนงานวิจัยอย่างเป็นระบบ ของ De Amorim RG และคณะปี ค.ศ. 2012 พบอัตราการคงอยู่ของวัสดุประมาณร้อยละ 93 และ 62 ในการอุดฟันด้านเดียวและหลายด้าน ตามลำดับ และคงอยู่ร้อยละ 86 เมื่อเวลาผ่านไป 3 ปี นอกจากนั้นเด็กที่ได้รับการรักษาวิธีนี้ไม่มีอาการปวดคิดเป็นร้อยละ 93 ประโยชน์ของการอุดฟันด้วยวิธี SMART คือ ค่าใช้จ่ายน้อย เจ็บปวดน้อย ลดความกังวลของเด็ก สามารถเก็บฟันไว้ได้โดยไม่ต้องถอน เป็นการให้บริการทันตกรรมเชิงรุก สามารถดำเนินการในชุมชนได้โดยที่ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือที่ทันสมัย และแนะนำให้เลือกใช้ในกิจกรรมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ดี ซึ่งทางฝ่ายทันตสาธารณสุขได้ให้การรักษาวิธีการนี้แก่เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพงมาแล้วในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา พบว่าในปีที่ผ่านมา มีเด็กได้รับการรักษาด้วยวิธี SMART คิดเป็นร้อยละ 68.24 ของเด็กที่มีฟันผุ ภายหลังการรักษาเด็กไม่มีอาการปวดฟัน และมีอัตราการยึดติดของวัสดุร้อยละ 89.29 เมื่อเวลาผ่านไป 1 ปี ซึ่งให้ผลความสำเร็จค่อนข้างสูง

ซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ (SDF) ความเข้นข้นร้อยละ 38 มีความสามารถในการหยุดยั้งฟันผุในชั้นเนื้อฟันได้ดี สารประกอบเงินมีคุณสมบัติในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย และลดการย่อยสลายของคอลลาเจนในเนื้อฟันร่วมกับการคืนกลับแร่ธาตุโดยฟลูออไรด์ที่ผิวหน้าฟัน เกิดการแข็งตัวของเนื้อฟันในโพรงฟันผุ ลดอาการเสียวฟัน มีรายงานผลการศึกษาการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและ Meta-analysis ปี ค.ศ. 2019 พบว่าประสิทธิภาพการใช้ซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ ในการยับยั้งฟันผุในชั้นเนื้อฟันของฟันน้ำนมสูงถึงร้อยละ 81 และ 89 ข้อดีคือ ใช้งานง่าย สะดวก ไม่แพง ปลอดภัย ใช้เวลาในการรักษาไม่นาน ไม่ต้องกรอฟันให้เกิดเสียงที่ทำให้เด็กกลัว ไม่พบอาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรง และไม่ทำให้เกิดความเจ็บปวดขณะรักษาโดยเฉพาะในเด็ก จึงมีความเหมาะสมที่จะนำมาใช้ในการป้องกันและหยุดยั้งฟันผุในเด็กเล็กที่มีข้อจำกัด หรือให้ความร่วมมือในการรักษาทางทันตกรรมน้อย แต่มีข้อคำนึงถึงประการหนึ่งคือ หลังการใช้ซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ในการหยุดยั้งฟันผุลุกลามได้มีประสิทธิภาพนั้น จะมีการเปลี่ยนรอยผุบริเวณนั้นเป็นสีดำอย่างถาวร แต่อย่างไรก็ตาม สีดำที่เกิดขึ้นก็มีลักษณะคล้ายรอยผุหยุดยั้งตามธรรมชาติ การให้บริการทางทันตกรรมในระดับชุมชน จำเป็นต้องให้การรักษาเพื่อควบคุมการลุกลามของรอยโรคฟันผุ (Caries control) ในเวลา ค่าใช้จ่าย และทรัพยากรบุคคลที่มีอยู่อย่างจำกัด ซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์เป็นทางเลือกหนึ่งที่แนะนำในงานทันตสาธารณสุขชุมชน ในกลุ่มประชากรเด็กที่มีความเสี่ยงฟันผุสูง สำหรับในประเทศไทยมีแนวทางการใช้ฟลูออไรด์โดยทันตแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยปี พ.ศ. 2560 ได้มีการแนะนำให้ใช้ซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ที่รอยผุอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง จนกว่ารอยโรคจะหยุดผุ หรือเมื่อได้รับการบูรณะหรือฟันน้ำนมหลุดเองตามธรรมชาติ ซึ่งยังไม่มีการใช้มาก่อนในระดับชุมชนของพื้นที่อำเภอละงู ดังนั้น กลุ่มงานทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลละงู จึงได้จัดทำโครงการหยุดยั้งฟันผุด้วยวิธี SMART ร่วมกับซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเขตตำบลกำแพง ซึ่งเป็นการต่อยอดโครงการฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย ด้วยวิธี SMART ตลอด 4 ปีที่ผ่านมา เพื่อควบคุมการลุกลามของโรคฟันผุ ป้องกันการเกิดฟันผุซ้ำ และเป็นการดูแลรักษาอนามัยในช่องปากให้กับเด็กเล็กต่อไปได้อย่างต่อเนื่องและครอบคลุมมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อฟื้นฟูให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครองเด็กและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. เพื่อให้เด็กปฐมวัย เข้าถึงบริการทางทันตกรรมและได้รับการบูรณะฟันน้ำนมเพิ่มขึ้น
  3. เพื่อลดการผุลุกลามและหยุดยั้งฟันน้ำนมผุในเด็กปฐมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมด้านการส่งเสริมป้องกัน
  2. กิจกรรมด้านการรักษา/ฟื้นฟู
  3. กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงาน
  4. รายงานผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 255
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) ผู้ปกครองเด็กและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กเล็กเพิ่มขึ้น 2) เด็กปฐมวัย ในศพด. เขตตำบลกำแพง เข้าถึงบริการทางทันตกรรม ได้รับการตรวจฟัน การหยุดยั้งฟันน้ำนมผุและบูรณะฟันน้ำนมเพิ่มขึ้น 3) ลดการสูญเสียฟันน้ำนม ลดอาการปวดฟันและลดการผุซ้ำในฟันกรามน้ำนมที่ได้รับการรักษาไป 4) ผู้ปกครองพึงพอใจต่อการบูรณะฟันด้วยวิธี SMART และหยุดยั้งฟันผุด้วยซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ในเด็กเล็ก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมด้านการส่งเสริมป้องกัน

วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • อบรมฟื้นฟูทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก   1) ฝึกทักษะการแปรงฟันแบบ Hand on Tooth Brushing     2) ประเมินผลโดยภาพรวม สามารถจัดท่าแปรงฟันได้ถูกต้องแปรงได้สะอาด ทั่วถึง
  • ให้ความรู้ ความเข้าใจ การอุดฟันแบบ SMART และการใช้ซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์หยุดยั้งฟันผุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้ปกครองเด็กและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก สามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริง
  • เด็กเล็กในศพด. เขตตำบลกำแพง เข้าถึงบริการทางทันตกรรม ได้รับการตรวจฟัน การหยุดยั้งฟันน้ำนมผุและบูรณะฟันน้ำนม

 

0 0

2. กิจกรรมด้านการรักษา/ฟื้นฟู

วันที่ 1 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ให้การบูรณะฟันด้วยวิธี SMART และหยุดยั้งฟันผุด้วยซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ในเด็กที่มีฟันน้ำนมผุ และผู้ปกครองให้ความยินยอม
  • ให้คำแนะนำและส่งต่อการรักษาในรพ. กรณีเกินศักยภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้งหมด 255 คน ณ วันที่ดำเนินโครงการมีจำนวน 251 คน - ได้รับการบริการและตรวจฟัน 201 คน  คิดเป็นร้อยละ 80.08 - มารับการรักษาตามนัด 157 คน    คิดเป็นร้อยละ 78.11 - ปราศจากฟันผุ 66 คน      คิดเป็นร้อยละ 32.84 - มีฟันน้ำนมผุ 135 คน  คิดเป็นร้อยละ 67.16 - ได้รับการรักษาโดยการอุดฟันเพียงร้อยละ 9.56 - มีฟันกรามน้ำนมผุสามารถบูรณะได้ 128 คน 375 ซี่ - ได้รับการบูรณะฟันด้วยวิธี SMART 99 คน 292 ซี่ (จำนวนคนที่ได้บูรณะคิดเป็นร้อยละ 77.34 และจำนวนซี่ที่ได้อุดคิดเป็นร้อยละ 77.87) - มีฟันน้ำนมที่ต้องได้รับการหยุดยั้งฟันผุด้วยซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ 129 คน 415 ซี่ - ผู้ปกครองให้ความยินยอมในการใช้ซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ 67 คน - ได้รับการหยุดยั้งฟันผุด้วยซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ 67 คน 217 ซี่ (จำนวนคนที่ได้รักษาคิดเป็นร้อยละ 51.94 และจำนวนซี่ที่ได้รักษาคิดเป็นร้อยละ 52.29) - เด็กที่ได้รักษา Completed case 79 คน คิดเป็นร้อยละ 50.32 ซึ่งจะเห็นได้ว่าเด็กที่ได้รับการบูรณะฟันกรามแล้วนั้น เด็กจะสามารถเคี้ยวอาหารได้ดีขึ้น สามารถควบคุม ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุ ป้องกันการสูญเสียฟันน้ำนมก่อนวัยอันควร และการเกิดฟันผุในฟันแท้

 

0 0

3. รายงานผลโครงการ

วันที่ 1 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินโครงการและจัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปเล่มรายงานผลการดำเนินโครงการ จำนวน 4 เล่ม

 

0 0

4. กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงาน

วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. สำรวจความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อการรักษา
  2. ติดตามผลการยึดติดของวัสดุ การสูญเสียฟัน อาการปวดฟัน และการผุซ้ำของฟันน้ำนม ภายหลังการรักษา 3 เดือนเพื่อประเมินความสำเร็จของการรักษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการติดตามผล 3 เดือนภายหลังการบูรณะฟันด้วยเทคนิค SMART และและหยุดยั้งฟันผุด้วยซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ได้สุ่มตรวจทั้งหมด 76 คน คิดเป็นร้อยละ 76.77 ของจำนวนเด็กที่ได้รับการรักษา ปรากฏดังนี้

1.เด็กที่ได้รับการบูรณะฟันด้วยเทคนิค SMART

- สุ่มตรวจทั้งหมด 191 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 65.41

- การยึดติดของวัสดุกับฟันติดสภาพดี 178 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 93.19

- หลุดบางส่วน 13 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 6.81

2.เด็กที่ได้รับการหยุดยั้งฟันผุด้วยซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์

- สุ่มตรวจทั้งหมด 157 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 72.35

- ฟันผุหยุดยั้งทั้งหมด 142 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 90.45

จากการสุ่มตรวจหลังการได้รับการอุดฟันแล้ว 3 เดือนแล้วพบว่าเด็กไม่มีอาการปวดฟันหลังการรักษาคิดเป็นร้อยละ 100 คุณภาพชีวิตหลังการรักษาพบว่า เด็กสามารถเคี้ยวอาหารได้ตามปกติ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 ด้านส่งเสริมป้องกัน จากการดำเนินโครงการมีผู้ปกครองเข้าร่วมการอบรมตามโครงการจำนวน 129 คน และครูผู้ดูแลเด็กจำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 59.22
1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนไสน ผู้ปกครองเข้าร่วม 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าแลหลา ผู้ปกครองเข้าร่วม 29 คน คิดเป็นร้อยละ 52.72
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าฝาง ผู้ปกครองเข้าร่วม 27 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00
4. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากปิง ผู้ปกครองเข้าร่วม 21 คน คิดเป็นร้อยละ 38.18
5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตูแตหรำ ผู้ปกครองเข้าร่วม 15 คน คิดเป็นร้อยละ 51.72
6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปิใหญ่ ผู้ปกครองเข้าร่วม 17 คน คิดเป็นร้อยละ 56.67

จากแบบสอบถามข้อมูลจากผู้ปกครองที่เข้าร่วมอบรม - ผู้ปกครองผู้เข้าร่วมอบรมเป็นพ่อหรือแม่ร้อยละ 53.97 ปู่ย่าตายายร้อยละ 36.51 และอื่นๆ ร้อยละ 9.52 - เพศชายร้อยละ 19.84 และเพศหญิงร้อยละ 80.16 - ความรับผิดชอบในการเลี้ยงดูเด็กส่วนใหญ่เป็นแบบบางครั้งมีผู้อื่นในครอบครัวช่วยเลี้ยงร้อยละ 58.73 รองลงมาคือส่วนมากมีคนอื่นในครอบครัวช่วยเลี้ยงร้อยละ 23.02 และรองลงมาคือเลี้ยงดูเด็กเพียงคนเดียวร้อยละ 18.25 - พฤติกรรมการบริโภคหวานส่วนใหญ่เด็กได้รับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มที่รสหวานก่อนเข้านอนร้อยละ 66.67 แต่ส่วนใหญ่แปรงฟันหลังรับประทานร้อยละ 76.19 รองลงมาคือบ้วนปากหลังรับประทานร้อยละ 28.57 ก่อนเข้านอน - ข้อมูลเกี่ยวกับการทำความสะอาดช่องปากของเด็ก ส่วนใหญ่แปรงฟันวันละ 2 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 67.46
- ผู้ที่แปรงฟันให้เด็กเป็นประจำส่วนใหญ่เป็นมารดาร้อยละ 50.79 รองลงมาคือเด็กเป็นผู้แปรงเองร้อยละ 30.16
- ยาสีฟันที่เด็กใช้ส่วนใหญ่เป็นยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์สำหรับเด็กร้อยละ 90.48 รองลงมาคือยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์สำหรับผู้ใหญ่ร้อยละ 5.56 และใช้ยาสีฟันที่ไม่มีฟลูออไรด์หรือไม่ทราบว่ามีฟลูออไรด์หรือไม่ร้อยละ 3.97
- ผู้ปกครองส่วนใหญ่ทราบว่าเด็กมีปัญหาสุขภาพช่องปากร้อยละ 62.70 - ผู้ปกครองส่วนใหญ่คิดว่าเด็กมีฟันผุร้อยละ 71.43 - ผู้ปกครองเคยพาเด็กไปพบทันตแพทย์ร้อยละ 51.59 ไม่เคยพาเด็กไปพบทันตแพทย์มาก่อนร้อยละ 48.41 สาเหตุส่วนใหญ่มาจากผู้ปกครองไม่มีเวลาพาไปร้อยละ 39.34 รองลงมามี 2 เหตุผลคือ คิดว่าเด็กไม่มีปัญหาในช่องปากและเด็กอายุน้อยเกินไปที่จะทำฟันร้อยละ 24.59 - สาเหตุที่จะพาเด็กไปพบทันตแพทย์คือ ตรวจสุขภาพช่องปากร้อยละ 43.65 รองลงมาคือ เพราะเด็กมีฟันผุร้อยละ 38.10 และเพราะเด็กมีอาการปวดฟันร้อยละ 15.08

จากการทำแบบทดสอบก่อนและหลังการอบรม - ผู้ปกครองเด็กเล็กที่เข้าร่วมการอบรม มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 16.60 ก่อนการอบรมมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 69.42 และหลังการอบรมมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 86.02 - จะเห็นได้ว่าหลังการอบรมแล้วผู้ปกครองมีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับช่องปากเด็กเล็กและการดูแลสุขภาพช่องปาก สามารถทำความสะอาดช่องปากได้ และมีทักษะการแปรงฟันให้แก่เด็กได้อย่างถูกต้องและมีคุณภาพมากขึ้น - จากการทำแบบทดสอบประเมินความเข้าใจของผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก เกี่ยวกับการใช้ซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ (SDF) เพื่อหยุดยั้งฟันน้ำนมผุในเด็กก่อนวัยเรียน ก่อน-หลังการอบรมของผู้ปกครอง ก่อนการอบรมมีคะแนนเฉลี่ยเป็นร้อยละ 78.86 และหลังการอบรมมีคะแนนเฉลี่ยเป็นร้อยละ 86.71 แสดงให้เห็นว่าเมื่อเสร็จสิ้นการอบรมแล้วผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 7.85

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมด้านรักษา/ฟื้นฟู เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้งหมด 255 คน ณ วันที่ดำเนินโครงการมีจำนวน 251 คน - ได้รับการบริการและตรวจฟัน 201 คน คิดเป็นร้อยละ 80.08 - มารับการรักษาตามนัด 157 คน  คิดเป็นร้อยละ 78.11 - ปราศจากฟันผุ 66 คน  คิดเป็นร้อยละ 32.84 - มีฟันน้ำนมผุ 135 คน คิดเป็นร้อยละ 67.16 - ได้รับการรักษาโดยการอุดฟันเพียงร้อยละ 9.56 - มีฟันกรามน้ำนมผุสามารถบูรณะได้ 128 คน 375 ซี่ - ได้รับการบูรณะฟันด้วยวิธี SMART 99 คน 292 ซี่ (จำนวนคนที่ได้บูรณะคิดเป็นร้อยละ 77.34 และจำนวนซี่ที่ได้อุดคิดเป็นร้อยละ 77.87) - มีฟันน้ำนมที่ต้องได้รับการหยุดยั้งฟันผุด้วยซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ 129 คน 415 ซี่ - ผู้ปกครองให้ความยินยอมในการใช้ซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ 67 คน - ได้รับการหยุดยั้งฟันผุด้วยซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ 67 คน 217 ซี่ (จำนวนคนที่ได้รักษาคิดเป็นร้อยละ 51.94 และจำนวนซี่ที่ได้รักษาคิดเป็นร้อยละ 52.29) - เด็กที่ได้รักษา Completed case 79 คน คิดเป็นร้อยละ 50.32 ซึ่งจะเห็นได้ว่าเด็กที่ได้รับการบูรณะฟันกรามแล้วนั้น เด็กจะสามารถเคี้ยวอาหารได้ดีขึ้น สามารถควบคุม ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุ ป้องกันการสูญเสียฟันน้ำนมก่อนวัยอันควร และการเกิดฟันผุในฟันแท้

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงาน มีการติดตามผล 3 เดือนภายหลังการบูรณะฟันด้วยเทคนิค SMART และและหยุดยั้งฟันผุด้วยซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ได้สุ่มตรวจทั้งหมด 76 คน คิดเป็นร้อยละ 76.77 ของจำนวนเด็กที่ได้รับการรักษา ปรากฏดังนี้ 1.เด็กที่ได้รับการบูรณะฟันด้วยเทคนิค SMART - สุ่มตรวจทั้งหมด 191 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 65.41 - การยึดติดของวัสดุกับฟันติดสภาพดี 178 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 93.19 - หลุดบางส่วน 13 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 6.81 2.เด็กที่ได้รับการหยุดยั้งฟันผุด้วยซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ - สุ่มตรวจทั้งหมด 157 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 72.35 - ฟันผุหยุดยั้งทั้งหมด 142 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 90.45 จากการสุ่มตรวจหลังการได้รับการอุดฟันแล้ว 3 เดือนแล้วพบว่าเด็กไม่มีอาการปวดฟันหลังการรักษาคิดเป็นร้อยละ 100 คุณภาพชีวิตหลังการรักษาพบว่า เด็กสามารถเคี้ยวอาหารได้ตามปกติ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อฟื้นฟูให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครองเด็กและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กเล็กเพิ่มขึ้น
80.00 84.33

 

2 เพื่อให้เด็กปฐมวัย เข้าถึงบริการทางทันตกรรมและได้รับการบูรณะฟันน้ำนมเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศพด. เขตตำบลกำแพง เข้าถึงบริการทางทันตกรรม ได้รับการตรวจฟัน การหยุดยั้งฟันน้ำนมผุและบูรณะฟันน้ำนมอย่างน้อยร้อยละ 90
90.00 80.08

 

3 เพื่อลดการผุลุกลามและหยุดยั้งฟันน้ำนมผุในเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ลดการสูญเสียฟันน้ำนม ลดอาการปวดฟันและลดการผุซ้ำในฟันกรามน้ำนมที่ได้รับการรักษาไปอย่างน้อยร้อยละ 60
60.00 90.77

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 255
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 255 201
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฟื้นฟูให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครองเด็กและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) เพื่อให้เด็กปฐมวัย เข้าถึงบริการทางทันตกรรมและได้รับการบูรณะฟันน้ำนมเพิ่มขึ้น (3) เพื่อลดการผุลุกลามและหยุดยั้งฟันน้ำนมผุในเด็กปฐมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมด้านการส่งเสริมป้องกัน (2) กิจกรรมด้านการรักษา/ฟื้นฟู (3) กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงาน (4) รายงานผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  • นักเรียนไม่สบาย และไม่มาเรียนหลายคน ในวันที่จัดกิจกรรมตรวจสุขภาพช่องปากเด็กเล็กในแต่ละ       ศูนย์ ทำให้ตรวจฟันได้ไม่ครบทุกคน
    • ผู้ปกครองบางท่านไม่ได้เข้าร่วมอบรม เนื่องจากไม่สะดวกมาในวัน เวลาดังกล่าว
    • วันที่นัดมารับการรักษา เด็กนักเรียนบางรายไม่มารับการรักษาบูรณะฟัน อยู่ต่างจังหวัด เป็นต้น
    • เด็กนักเรียนบางคนร้องและดิ้นมาก จนไม่สามารถรับการรักษาปกติที่ศพด. ได้
    • เด็กนักเรียนบางคนมีฟันผุหลายซี่ บางซี่ไม่เข้าเกณฑ์ที่จะสามารถบูรณะฟันได้
    • เด็กนักเรียนบางคนมีฟันผุต้องบูรณะหลายซี่ แต่เด็กไม่สามารถทนอ้าปากได้นาน

 

  • ออกตรวจซ้ำในโรงเรียนที่นักเรียนไม่มาหลายคนในวันอื่นๆ เพื่อให้สามารถได้ตรวจฟันครบทุกคน
    • นักเรียนบางคนที่ไม่ได้มาเรียน ในวันที่ออกตรวจฟัน ให้ผู้ปกครองพามาตรวจฟันพร้อมกับวันที่มารับ การบูรณะฟัน
    • ให้ครูผู้ดูแลเด็กแต่ละศูนย์ ช่วยประสานงานให้ผู้ปกครองได้รับการถ่ายทอดความรู้การดูแลสุขภาพ   ช่องปาก และประชาสัมพันธ์กิจกรรมเพิ่มเติม ให้ผู้ปกครองมารับความรู้และฝึกทักษะการแปรงฟัน       เด็กเล็กในวันที่พานักเรียนมารับการบูรณะฟัน
  • ครูผู้ดูแลเด็กแต่ศูนย์ประสานงานติดต่อให้ผู้ปกครองพาเด็กนักเรียนของตนมารับการรักษาทันที   วัน-เวลานั้น ในช่วงเวลาที่กำหนดนัดหมาย
  • เด็กนักเรียนบางคนที่ร้อง ดิ้นมาก มีฟันผุหลายซี่ ไม่เข้าเกณฑ์จะรับการบูรณะฟันได้ หรือไม่สามารถ   บูรณะได้จนเสร็จเรียบร้อยทุกซี่ ได้นัดให้มารักษาต่อวันถัดไป หรือส่งต่อมารักษาที่รพ.สต. หรือ   รพ. ละงู เพื่อรับการรักษาที่สมบูรณ์ (Complete case) และพบทันตแพทย์เฉพาะทางสำหรับเด็ก

ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการหยุดยั้งฟันผุ ด้วยวิธี SMART ร่วมกับซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เขตตำบลกำแพง

รหัสโครงการ 2566-L8010-1-01 รหัสสัญญา 02/2566 ระยะเวลาโครงการ 3 มกราคม 2566 - 31 ธันวาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการหยุดยั้งฟันผุ ด้วยวิธี SMART ร่วมกับซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เขตตำบลกำแพง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2566-L8010-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปวิตร วณิชชานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด