กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยไลน์แด๊นซ์ (Line Dance) มุ่งสู่หัวใจและปอดที่แข็งแรง ”
ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางนฤมล สุนทรสุวาทีกุล




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยไลน์แด๊นซ์ (Line Dance) มุ่งสู่หัวใจและปอดที่แข็งแรง

ที่อยู่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L7576-02-06 เลขที่ข้อตกลง 13/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยไลน์แด๊นซ์ (Line Dance) มุ่งสู่หัวใจและปอดที่แข็งแรง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาชัยสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยไลน์แด๊นซ์ (Line Dance) มุ่งสู่หัวใจและปอดที่แข็งแรง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยไลน์แด๊นซ์ (Line Dance) มุ่งสู่หัวใจและปอดที่แข็งแรง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2566-L7576-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาชัยสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่าการออกกำลังกายมีความจำเป็นควบคู่ไปกับการดำรงชีพของประชาชน ประกอบกับรัฐบาลได้เน้นเรื่องการรณรงค์ให้ประชาชนทุกครัวเรือนหันมาออกกำลังกายกันอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ทั้งนี้เป็นการลดปัญหาการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตจากโรคภัยไข้เจ็บก่อนเวลาอันควรตลอดจนแก้ปัญหา
การติดยาเสพติดโดยเฉพาะกลุ่มเยาวชน ดังนั้นการออกกำลังกายจึงเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะทำให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง มีจิตใจที่แจ่มใส ปัจจุบันมีการนำ “ลีลาศ” กับ “แอโรบิค” เข้ามาผสมกันเป็นการออกกำลังกายรูปแบบใหม่ เรียกว่า “Line Dance” เป็นฝึกออกกำลังกายด้วยทักษะการเคลื่อนไหวในรูปแบบการออกกำลังกาย ในแถว (Line dance) ซึ่งเป็นการออกกำลังกายอีกรูปแบบหนึ่งที่นำทักษะพื้นฐานการเคลื่อนไหว การเดิน การเต้นตามธรรมชาติที่ช่วยพัฒนาสุขภาพทุกองค์ประกอบ ช่วยพัฒนาสมองทั้งซีกซ้ายและซีกขวาให้ทำงานอย่างสมดุลด้วยลีลาการเคลื่อนไหว 4 ทิศทาง ตามจังหวะเพลงที่สนุกสนานเป็นการออกกำลังกายประกอบเพลงไปตามจังหวะและเป็นกลุ่มโดยมีจุดกำเนิดมาจากประเทศสหรัฐอเมริกาเกิดจากการที่ประชาชนกลุ่มหนึ่งรวมตัวกันเพื่อทำกิจกรรมเต้นเข้าจังหวะจากลักษณะการของกิจกรรมที่ทำร่วมกันนั้นจะเห็นได้ว่า Line Dance เป็นการเต้นที่ผสมผสานระหว่างลีลาศและแอโรบิค ซึ่งถือเป็นการลดช่องว่างของผู้ที่ต้องการเต้นลีลาศ แต่ไม่มีคู่
เพราะ Line Dance สามารถเต้นคนเดียวได้ การออกกำลังกายแบบ Line Dance มีประโยชน์เรื่องของ การบริหารสมอง ฝึกการจำท่วงท่า ฝึกร่างกายเพื่อเพิ่มบุคลิกที่ดี ทั้งยังสร้างความเพลิดเพลิน

ชมรมเขาชัยสนไลน์แด๊นซ์ (Line Dance) ตระหนักถึงประโยชน์ของกิจกรรม Line Dance จึงจัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายไลน์แดนซ์ (Line Dance) ขึ้นมา เพื่อเป็นแกนนำในการออกกำลังกายไลซ์แดนซ์และเพิ่มพื้นที่บวกในการออกกำลังกายให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ และเพื่อกระตุ้นให้เกิดความตระหนักและตื่นตัวเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้วยังช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์ และเสริมสร้างความสามัคคี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. มีแกนนำการออกกำลังกายการเต้นไลน์แด๊นซ์
  2. เพื่อเสริมสร้างให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการออกกำลังกาย ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และทำให้เกิดความเพลิดเพลินในการออกกำลังกาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมแกนนำไลน์แด๊นซ์ (Line Dance)
  2. คัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q) ก่อนและหลังอบรม
  3. ประเมินดัชนีย์มวลกาย (MBI) ก่อนและหลังอบรม
  4. สรุปและรายงานผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • กลุ่มเป้าหมายสามารถเป็นแกนนำในการออกกำลังกายแบบไลน์แด๊นซ์
  • กลุ่มเป้าหมายสามารถเผยแพร่การออกกำลังแบบไลน์แด๊นซ์ให้เป็นอีกทางเลือกในการออกกำลังกาย
  • กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีลดภาวะเสี่ยงการเกิดโรคต่างๆ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมแกนนำไลน์แด๊นซ์ (Line Dance)

วันที่ 10 พฤษภาคม 2566 เวลา 17:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • อบรมและฝึกปฏิบัติการเต้นออกกำลังกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้เข้าร่วมโครงการ  จำนวน  20  คน
  • ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถฝึกปฏิบัติการเต้นไลน์แด๊นซ์เพื่อเป็นแกนนำในการออกกำลังกายในรูปแบบใหม่ได้

 

0 0

2. คัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q) ก่อนและหลังอบรม

วันที่ 10 พฤษภาคม 2566 เวลา 17:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • คัดกรองสุขภาพจิตด้วยตนเองด้วยเครื่องมือแบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม
  • (1Q) ใน 2 สัปดาห์ที่ผ่านมารวมวันนี้ “ท่านรู้สึกหดหู่ เศร้า หรือท้อแท้สิ้นหวังหรือไม่”  มี /ไม่มี
  • (2Q) ใน 2 สัปดาห์ที่ผ่านมารวมวันนี้ “ท่านรู้สึกหดหู่ เบี่อ ทำอะไรก็ไม่เพลิดเพลินหรือไม่”  มี /ไม่
  • ถ้าตอบคำถาม “ไม่มี” ทั้งสองคำถาม ถือว่าปกติ  ไม่เป็นโรคซึมเศร้า
  • ถ้าตอบคำถาม “มี” ข้อใดข้อหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้อ หมายถึง “เป็นผู้ที่มีความเสี่ยง” หรือ “มีแนวโน้มที่จะเป็นโรคซึมเศร้า” ให้ประเมินต่อด้วยแบบประเมินโรคซึมเศร้า 9Q หรือแนะนำพบแพทย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ก่อนการอบรมผู้เข้าร่วมโครงการคัดกรองสุขภาพจิตด้วยตนเอง  จำนวน 20 คน ตอบคำถามไม่มี  ร้อยละ 100  ถือว่าปกติ  ไม่เป็นโรคซึมเศร้า
  • หลังการอบรมผู้เข้าร่วมโครงการคัดกรองสุขภาพจิตด้วยตนเอง  จำนวน 20 คน ตอบคำถามไม่มี  ร้อยละ 100  ถือว่าปกติ  ไม่เป็นโรคซึมเศร้า

 

0 0

3. ประเมินดัชนีย์มวลกาย (MBI) ก่อนและหลังอบรม

วันที่ 10 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าดัชนีมวลกาย Body Mass Index หรือเรียกย่อ ๆ ว่า BMI คือ ตัวชี้วัดมาตรฐานเพื่อประเมินสภาวะร่างกายว่ามีความสมดุลของน้ำหนักตัวต่อส่วนสูงที่มีอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมหรือไม่ ค่า BMI สามารถใช้เป็นเครื่องมือเพื่อระบุผู้ที่มีน้ำหนักเกินหรือภาวะอ้วนและผู้ที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานในผู้ใหญ่ที่มีอายุ 20 ปี ขึ้นไป
  • ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อนำมาประเมินค่าดัชนีมวลกาย (BMI)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

BMI kg/m2 อยู่ในเกณฑ์ ภาวะเสี่ยงต่อโรค ร้อยละก่อนอบรม ร้อยละหลังการอบรม น้อยกว่า 18.50 น้ำหนักน้อย / ผอม มากกว่าคนปกติ 0 0 ระหว่าง 18.50 - 22.90 ปกติ (สุขภาพดี) เท่าคนปกติ 33.33 45.83 ระหว่าง 23 - 24.90 ท้วม / โรคอ้วนระดับ 1 อันตรายระดับ 1 41.67 37.50 ระหว่าง 25 - 29.90 อ้วน / โรคอ้วนระดับ 2 อันตรายระดับ 2 20.83 16.67 มากกว่า 30 อ้วนมาก / โรคอ้วนระดับ 3 อันตรายระดับ 3 4.17 0

 

0 0

4. สรุปและรายงานผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ

วันที่ 24 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปและรายงานผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปและรายงานผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • มีแกนนำในการออกกำลังกายด้วยไลน์แด๊นซ์ จำนวน 20 คน
  • แกนนำสามารถเผยแพร่ ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายทั้งตนเอง ครอบครัวและสังคม
  • แกนนำมีมีสุขภาพกายและจิตดีลดภาวะเสี่ยงการเกิดโรคต่างๆ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 มีแกนนำการออกกำลังกายการเต้นไลน์แด๊นซ์
ตัวชี้วัด : มีแกนนำการออกกำลังกายการเต้นไลน์แด๊นซ์
0.00 20.00 20.00

 

2 เพื่อเสริมสร้างให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการออกกำลังกาย ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และทำให้เกิดความเพลิดเพลินในการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : แกนนำของการออกกำลังกายการเต้นไลน์แด๊นซ์สามาราถเป็นแกนนำในการออกกำลังกายได้ อย่างน้อย 5 ครั้ง ต่อไป
0.00 5.00 5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 10 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 10 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) มีแกนนำการออกกำลังกายการเต้นไลน์แด๊นซ์ (2) เพื่อเสริมสร้างให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการออกกำลังกาย ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และทำให้เกิดความเพลิดเพลินในการออกกำลังกาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแกนนำไลน์แด๊นซ์ (Line Dance) (2) คัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q) ก่อนและหลังอบรม (3) ประเมินดัชนีย์มวลกาย (MBI) ก่อนและหลังอบรม (4) สรุปและรายงานผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยไลน์แด๊นซ์ (Line Dance) มุ่งสู่หัวใจและปอดที่แข็งแรง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L7576-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนฤมล สุนทรสุวาทีกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด