โครงการ Zero Waste โรงเรียนและชุมชนบ้านตูแตหรำเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ Zero Waste โรงเรียนและชุมชนบ้านตูแตหรำเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์ ”
หัวหน้าโครงการ
นางปิยะวดี ยาวาหาบ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
ธันวาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการ Zero Waste โรงเรียนและชุมชนบ้านตูแตหรำเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 2566-L8010-2-03 เลขที่ข้อตกลง 07/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 ธันวาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ Zero Waste โรงเรียนและชุมชนบ้านตูแตหรำเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ Zero Waste โรงเรียนและชุมชนบ้านตูแตหรำเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ Zero Waste โรงเรียนและชุมชนบ้านตูแตหรำเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 2566-L8010-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 ธันวาคม 2565 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 74,004.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการเพิ่มสูงขึ้นของขยะมูลฝอยในปัจจุบันเนื่องจากจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นและพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนที่มีความสะดวกสบาย เครื่องใช้บรรจุภัณฑ์ต่าง ๆ ที่เป็นพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว การใช้บริการการสั่งซื้อสินค้าและอาหารผ่านระบบออนไลน์ ส่งผลให้ขยะที่เพิ่มขึ้นไม่ได้ถูกกำจัดอย่างเป็นระบบเกิดปัญหาและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตามมาในชุมชนและโรงเรียน อีกทั้งชุมชนบ้านตูแตหรำยังขาดความรู้ในการคัดแยกขยะ โรงเรียนบ้านตูแตหรำได้พยายามดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาลในการแก้ปัญหาการจัดการขยะ โดยที่ผ่านมาการจัดการขยะ นักเรียนที่ยังขาดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ ร้อยละ 75 และประชาชนยังขาดความรู้ในการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีร้อยละ 80 ส่งผลให้การจัดการขยะมีประสิทธิภาพไม่เท่าที่ควร อีกทั้งปริมาณขยะต่อวันในโรงเรียน ซึ่งแยกเป็นประเภทขยะทั่วไป ประมาณ 12 กก.ต่อวัน 240 กก.ต่อเดือน และประมาณ 2,880 กก.ต่อปี ประเภทขยะอินทรีย์ประมาณ 3 กก.ต่อวัน 60กก.ต่อเดือนและ 720 กก.ต่อปี ประเภทขยะรีไซเคิลประมาณ 5 กก.ต่อวัน 100 กก.ต่อเดือน 1,200 กก.ต่อปี ประเภทขยะอันตราย 0.2 กก.ต่อวัน 4 กก.ต่อเดือน และ 48 กก.ต่อปี ประเภทขยะเปียกที่เหลือหลังจากนักเรียนรับประทานอาหารกลางวันประมาณ 3 กก.ต่อวัน 50 กก.ต่อเดือน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพนักเรียนทำให้เกิดมลภาวะทางอากาศส่งกลิ่นไม่พึงประสงค์และสกปรกนำไปสู่การเป็นแหล่งเพาะเชื้อสู่การแพร่เชื้อโรคต่างๆ ได้ทาง โรงเรียนเล่งเห็นถึงความสำคัญของการจัดการขยะ จึงจัดทำโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การสร้างเครือข่ายสถานศึกษา ที่ดำเนินกิจกรรม ลด คัดแยก และนำกลับมาใช้ประโยชน์ การรวบรวมขยะเพื่อส่งไปกำจัดอย่างถูกต้อง ปลูกจิตสำนึกการลด คัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในสถานศึกษา โรงเรียนจึงมีนโยบายในการส่งเสริมให้นักเรียน และบุคลากรของโรงเรียนคัดแยกขยะ มีการดำเนินกิจกรรมลดขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์มีการสอนการทำปุ๋ยอินทรีย์จากเศษอาหาร นำพลาสติก ขวดและกล่องนมเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นของใช้ ของเล่น การรณรงค์ให้มีการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น ใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก ลดการใช้พลาสติกและโฟม ส่งเสริมการใช้วัสดุจากธรรมชาติ มีการจัดนักเรียนแกนนำในการสร้างความรู้และจัดตั้งชุมนุมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน โดยมุ่งเน้นให้เกิดการดำเนินการที่เป็นรูปธรรมในการพัฒนาวิธีการจัดการขยะตามโครงการโรงเรียนปลอดขยะที่มีประสิทธิภาพตามบริบทของโรงเรียน การมีส่วนร่วมในชุมชนตลอดจนการรณรงค์ให้เห็นปัญหาและผลกระทบของขยะมูลฝอย รวมถึงวิธีการในการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง และการร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพจากความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างตัน ผู้จัดทำโครงการจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจัดการขยะ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกวิธี
- เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษามีแนวทางในการจัดลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมการจัดการขยะ
- จัดทำชุดกิจกรรม Zero Waste
- จัดตั้งธนาคารขยะ
- การจัดการขยะอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชน
- การจัดการขยะรีไซเคิลในโรงเรียนและชุมชน
- รายงานผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
26
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
74
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ครู นักเรียน บุคลากรทางศึกษาและผู้ปกครอง สามารถคัดแยกขยะ นำขยะกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่และปริมาณขยะในชุมชน และโรงเรียนลดลง
๒. ครู นักเรียน บุคลากรทางศึกษาและผู้ปกครอง มีระบบการจัดการขยะอย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การจัดการขยะรีไซเคิลในโรงเรียนและชุมชน
วันที่ 6 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ให้นักเรียนรู้จักแยกขยะ และนำกลับมาใช้ใหม่ โดยการประดิษฐ์เป็นของใช้สอย หรือเป็นผลงานของห้องเรียน
- นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีการนำขยะรีไซเคิลบางอย่างที่มาจากการคัดแยกขยะมาทำสิ่งประดิษฐ์ ที่สามารถนำมาใช้งานได้ และเกิดประโยชน์เช่นถุงนมส่วนขยะที่ขายได้นำไปขายจัดตั้งธนาคารขยะโดยมีนักเรียนเป็นคณะกรรมการดำเนินงาน มีครูเป็นที่ปรึกษา มีการรับซื้อและ จัดการจำหน่ายจากนักเรียน ทำสมุดบัญชีสะสมเงินแก่นักเรียนการรับซื้อขยะจากนักเรียน สัปดาห์ละ 1 วันคือวันพุธตอนพักเที่ยง หลังรับประทานอาหารกลางวันเสร็จ
- นักเรียนแต่ละห้องทำชิ้นงานจากขยะรีไซเคิล
- อนุบาล ที่รองจานจากถุงนม/ ประถมมหัศจรรย์กระดาษลังรักษ์โลก / ออมสินน้อยรักษ์สิ่งแวดล้อม / เปเปอร์มาเช่ / สะพายสะดวกใช้ / หมวกรักษ์โลก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนชั้นอนุบาล 2 - ป.6 ร้อยละ 80 สามารถแยกขยะได้
- นักเรียนสามารถนำขยะรีไซเคิลมาประดิษฐ์เป็นของใช้เป็นชิ้นงานของตนเองได้
- นักเรียนสามารถนำชิ้นงานของตนเองมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ และนักเรียนร้อยละ 100 มีความพึงพอใจในผลงานของตนเอง
0
0
2. จัดทำชุดกิจกรรม Zero Waste
วันที่ 12 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำชุดกิจกรรม“ZeroWaste” โรงเรียนและชุมชนเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 จัดทำเพื่อให้นักเรียนใช้เป็นแนวทางประกอบการจัดการเรียนรู้ เรื่อง “ZeroWaste” โรงเรียนและชุมชนเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์เน้นให้นักเรียนได้ใช้กระบวนการสร้างความรู้และพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ด้วยการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงจากธรรมชาติในท้องถิ่นเพื่อการจัดการขยะที่ยั่งยืนโดยผู้จัดทำได้แบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 เล่ม ดังนี้
เล่มที่ 1 เรื่องประเภทของขยะ
เล่มที่ 2 เรื่องการลดขยะโดยหลัก 3 ช.
เล่มที่ 3 เรื่องธนาคารขยะ
เล่มที่ 4 เรื่องขยะอินทรีย์
เล่มที่ 5 เรื่องขยะรีไซเคิล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการที่นักเรียนได้เรียนรู้ชุดกิจกรรม Zero Waste ครบทั้ง 5 เล่ม ผลคะแนนจากการทำแบบทดสอบก่อน - หลัง เรียนรู้ชุดกิจกรรม Zero Waste คิดเป็นร้อยละ ดังนี้
เล่มที่ 1 เรื่องประเภทของขยะ นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 67.39
เล่มที่ 2 เรื่องลดขยะโดยหลัก 3ช นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 75.87
เล่มที่ 3 เรื่องธนาคารขยะ นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 77.23
เล่มที่ 4 เรื่องขยะอินทรีย์ นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 77.88
เล่มที่ 5 เรื่องขยะรีไซเคิล นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 82.79
0
0
3. จัดตั้งธนาคารขยะ
วันที่ 12 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดตั้งธนาคารขยะภายในโรงเรียน
- จัดตั้งคณะทำงานธนาคารขยะ โดยทุกวันพุธ ตอนเที่ยง จะมีการรับซื้อขยะจากห้องเรียนนักเรียน หรือผู้ปกครองนำมาขาย
3.ทางโรงเรียนนำขยะไปขายต่อที่โรงรับซื้อของเก่า
- นำเงินที่ได้จากการขายขยะ ไปเข้ากองทุนอาหารกลางวันนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ปริมาณขยะที่รับซื้อได้ในแต่ละเดือนเฉลี่ย 400-500 กก.
- โรงเรียนนำขยะไปขายต่อที่โรงรับซื้อของเก่าได้เงินเฉลี่ยเดือนละ 600 บาท
- ปริมาณขยะประเภทขวดและกระดาษ ในโรงเรียนลดน้อยลงร้อยละ 80
- ฝึกให้นักเรียนสามารถช่วยเหลือครอบครัว และสร้างรายได้ให้กับครอบครัว
0
0
4. การจัดการขยะอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชน
วันที่ 12 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ทางโรงเรียนได้มีการจัดทำขยะอินทรีย์จากขยะเปียก เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่นักเรียน และเป็นปุ๋ย กับต้นไม้ภายในบริเวณโรงเรียน โดยใช้วัสดุจากขยะเปียก เช่น ใบไม้ หญ้าเศษอาหารจากโรงครัวและ เศษอาหารที่เหลือจากการรับประทานอาหารที่นักเรียนไม่สามารถทานได้ เช่น กระดูกสัตว์ น้ำ แกงที่เหลือ เปลือกผลไม้ เป็นต้น นำมาทำขยะอินทรีย์โดยการขุดหลุมแล้วนำถังพลาสติกมาใส่ในหลุมเทขยะเปียกใส่แล้วปิดฝา ทางโรงเรียนได้ขุดหลุมบริเวณใต้ต้นไม้เพื่อนำขยะเปียก เช่น เศษอาหารจากการรับประทานอาหารกลางวัน ใสในหลุมเพื่อเป็นปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งทางโรงเรียนได้ขุดหลุมดังกล่าวไว้หลายจุด ทั่วทั้งบริเวณโรงเรียนและทางโรงเรียนเพ่ิมพื้นที่ บริเวณแปลงผักของนักเรียน เพื่อเป็นปุ๋ยอินทรีย์สำหรับแปลงผักของนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการที่โรงเรียนได้จัดกิจกรรมการจัดการขยะอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชนขึ้น ผลที่ได้รับจากการทำกิจกรรม ดังนี้
- ทำให้ลดกลิ่นเน่าเหม็นจากเศษอาหารกลางวันได้ ร้อยละ 100
- ลดการคุ้ยเขี่ยเศษอาหารของสัตว์
- โรงอาหารมีความสะอาดมากขึ้น
- เป็นปุ๋ยให้กับต้นไม้ภายในโรงเรียน
- นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในครัวเรือนของนักเรียนได้
0
0
5. จัดอบรมการจัดการขยะ
วันที่ 6 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดอบรมให้ความเรื่องขยะให้แก่ ครู นักเรียน บุคลากร ผู้ปกครอง หลักสูตร 1 วัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการขยะก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 40
- หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84 ของนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการขยะมากขึ้น
- นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องของขยะมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการแยกประเภทของขยะ การทิ้งขยะให้ถูกประเภท การนำขยะไปใช้ประโยชน์ ทำให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจร้อยละ 92.87
0
0
6. รายงานผลโครงการ
วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สรุปผลการดำเนินงานและจัดทำรูปเล่มรายงานผลการดำเนินโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีรูปเล่มรายงานผลการดำเนินโครงการ จำนวน 4 เล่ม
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมการจัดการขยะ
1. นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการขยะก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 40
2. หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84 ของนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการขยะมากขึ้น
3. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องของขยะมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการแยกประเภทของขยะ การทิ้งขยะให้ถูกประเภท การนำขยะไปใช้ประโยชน์ ทำให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจร้อยละ 92.87
กิจกรรมที่ 2 จัดทำชุดกิจกรรม Zero Waste
จากการที่นักเรียนได้เรียนรู้ชุดกิจกรรม Zero Waste ครบทั้ง 5 เล่ม ผลคะแนนจากการทำแบบทดสอบก่อน - หลัง เรียนรู้ชุดกิจกรรม Zero Waste คิดเป็นร้อยละ ดังนี้
เล่มที่ 1 เรื่องประเภทของขยะ นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 67.39
เล่มที่ 2 เรื่องลดขยะโดยหลัก 3ช นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 75.87
เล่มที่ 3 เรื่องธนาคารขยะ นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 77.23
เล่มที่ 4 เรื่องขยะอินทรีย์ นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 77.88
เล่มที่ 5 เรื่องขยะรีไซเคิล นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 82.79
กิจกรรมที่ 3 จัดตั้งธนาคารขยะ
1. ปริมาณขยะที่รับซื้อได้ในแต่ละเดือนเฉลี่ย 400-500 กก.
2. โรงเรียนนำขยะไปขายต่อที่โรงรับซื้อของเก่าได้เงินเฉลี่ยเดือนละ 600 บาท
3. ปริมาณขยะประเภทขวดและกระดาษ ในโรงเรียนลดน้อยลงร้อยละ 80
4. ฝึกให้นักเรียนสามารถช่วยเหลือครอบครัว และสร้างรายได้ให้กับครอบครัว
กิจกรรมที่ 4 การจัดการขยะอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชน
จากการที่โรงเรียนได้จัดกิจกรรมการจัดการขยะอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชนขึ้น ผลที่ได้รับจากการทำกิจกรรม ดังนี้
- ทำให้ลดกลิ่นเน่าเหม็นจากเศษอาหารกลางวันได้ ร้อยละ 100
- ลดการคุ้ยเขี่ยเศษอาหารของสัตว์
- โรงอาหารมีความสะอาดมากขึ้น
- เป็นปุ๋ยให้กับต้นไม้ภายในโรงเรียน
- นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในครัวเรือนของนักเรียนได้
กิจกรรมที่ 5 การจัดการขยะรีไซเคิลในโรงเรียนและชุมชน
1. นักเรียนชั้นอนุบาล 2 - ป.6 ร้อยละ 80 สามารถแยกขยะได้
2. นักเรียนสามารถนำขยะรีไซเคิลมาประดิษฐ์เป็นของใช้เป็นชิ้นงานของตนเองได้
3. นักเรียนสามารถนำชิ้นงานของตนเองมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ และนักเรียนร้อยละ 100 มีความพึงพอใจในผลงานของตนเอง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกวิธี
0.00
80.00
2
เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษามีแนวทางในการจัดลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด : 1. ปริมาณขยะในโรงเรียนและชุมชน ลดลงร้อยละ 70
2. โรงเรียนมีการจัดการขยะอย่างถูกวิธี ร้อยละ 80
0.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
26
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
74
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกวิธี (2) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษามีแนวทางในการจัดลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมการจัดการขยะ (2) จัดทำชุดกิจกรรม Zero Waste (3) จัดตั้งธนาคารขยะ (4) การจัดการขยะอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชน (5) การจัดการขยะรีไซเคิลในโรงเรียนและชุมชน (6) รายงานผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ Zero Waste โรงเรียนและชุมชนบ้านตูแตหรำเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์ จังหวัด
รหัสโครงการ 2566-L8010-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางปิยะวดี ยาวาหาบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ Zero Waste โรงเรียนและชุมชนบ้านตูแตหรำเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์ ”
หัวหน้าโครงการ
นางปิยะวดี ยาวาหาบ
ธันวาคม 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 2566-L8010-2-03 เลขที่ข้อตกลง 07/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 ธันวาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ Zero Waste โรงเรียนและชุมชนบ้านตูแตหรำเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ Zero Waste โรงเรียนและชุมชนบ้านตูแตหรำเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ Zero Waste โรงเรียนและชุมชนบ้านตูแตหรำเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 2566-L8010-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 ธันวาคม 2565 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 74,004.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการเพิ่มสูงขึ้นของขยะมูลฝอยในปัจจุบันเนื่องจากจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นและพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนที่มีความสะดวกสบาย เครื่องใช้บรรจุภัณฑ์ต่าง ๆ ที่เป็นพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว การใช้บริการการสั่งซื้อสินค้าและอาหารผ่านระบบออนไลน์ ส่งผลให้ขยะที่เพิ่มขึ้นไม่ได้ถูกกำจัดอย่างเป็นระบบเกิดปัญหาและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตามมาในชุมชนและโรงเรียน อีกทั้งชุมชนบ้านตูแตหรำยังขาดความรู้ในการคัดแยกขยะ โรงเรียนบ้านตูแตหรำได้พยายามดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาลในการแก้ปัญหาการจัดการขยะ โดยที่ผ่านมาการจัดการขยะ นักเรียนที่ยังขาดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ ร้อยละ 75 และประชาชนยังขาดความรู้ในการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีร้อยละ 80 ส่งผลให้การจัดการขยะมีประสิทธิภาพไม่เท่าที่ควร อีกทั้งปริมาณขยะต่อวันในโรงเรียน ซึ่งแยกเป็นประเภทขยะทั่วไป ประมาณ 12 กก.ต่อวัน 240 กก.ต่อเดือน และประมาณ 2,880 กก.ต่อปี ประเภทขยะอินทรีย์ประมาณ 3 กก.ต่อวัน 60กก.ต่อเดือนและ 720 กก.ต่อปี ประเภทขยะรีไซเคิลประมาณ 5 กก.ต่อวัน 100 กก.ต่อเดือน 1,200 กก.ต่อปี ประเภทขยะอันตราย 0.2 กก.ต่อวัน 4 กก.ต่อเดือน และ 48 กก.ต่อปี ประเภทขยะเปียกที่เหลือหลังจากนักเรียนรับประทานอาหารกลางวันประมาณ 3 กก.ต่อวัน 50 กก.ต่อเดือน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพนักเรียนทำให้เกิดมลภาวะทางอากาศส่งกลิ่นไม่พึงประสงค์และสกปรกนำไปสู่การเป็นแหล่งเพาะเชื้อสู่การแพร่เชื้อโรคต่างๆ ได้ทาง โรงเรียนเล่งเห็นถึงความสำคัญของการจัดการขยะ จึงจัดทำโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การสร้างเครือข่ายสถานศึกษา ที่ดำเนินกิจกรรม ลด คัดแยก และนำกลับมาใช้ประโยชน์ การรวบรวมขยะเพื่อส่งไปกำจัดอย่างถูกต้อง ปลูกจิตสำนึกการลด คัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในสถานศึกษา โรงเรียนจึงมีนโยบายในการส่งเสริมให้นักเรียน และบุคลากรของโรงเรียนคัดแยกขยะ มีการดำเนินกิจกรรมลดขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์มีการสอนการทำปุ๋ยอินทรีย์จากเศษอาหาร นำพลาสติก ขวดและกล่องนมเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นของใช้ ของเล่น การรณรงค์ให้มีการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น ใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก ลดการใช้พลาสติกและโฟม ส่งเสริมการใช้วัสดุจากธรรมชาติ มีการจัดนักเรียนแกนนำในการสร้างความรู้และจัดตั้งชุมนุมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน โดยมุ่งเน้นให้เกิดการดำเนินการที่เป็นรูปธรรมในการพัฒนาวิธีการจัดการขยะตามโครงการโรงเรียนปลอดขยะที่มีประสิทธิภาพตามบริบทของโรงเรียน การมีส่วนร่วมในชุมชนตลอดจนการรณรงค์ให้เห็นปัญหาและผลกระทบของขยะมูลฝอย รวมถึงวิธีการในการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง และการร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพจากความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างตัน ผู้จัดทำโครงการจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจัดการขยะ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกวิธี
- เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษามีแนวทางในการจัดลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมการจัดการขยะ
- จัดทำชุดกิจกรรม Zero Waste
- จัดตั้งธนาคารขยะ
- การจัดการขยะอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชน
- การจัดการขยะรีไซเคิลในโรงเรียนและชุมชน
- รายงานผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 26 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 74 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ครู นักเรียน บุคลากรทางศึกษาและผู้ปกครอง สามารถคัดแยกขยะ นำขยะกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่และปริมาณขยะในชุมชน และโรงเรียนลดลง ๒. ครู นักเรียน บุคลากรทางศึกษาและผู้ปกครอง มีระบบการจัดการขยะอย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การจัดการขยะรีไซเคิลในโรงเรียนและชุมชน |
||
วันที่ 6 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
2. จัดทำชุดกิจกรรม Zero Waste |
||
วันที่ 12 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำชุดกิจกรรม“ZeroWaste” โรงเรียนและชุมชนเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 จัดทำเพื่อให้นักเรียนใช้เป็นแนวทางประกอบการจัดการเรียนรู้ เรื่อง “ZeroWaste” โรงเรียนและชุมชนเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์เน้นให้นักเรียนได้ใช้กระบวนการสร้างความรู้และพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ด้วยการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงจากธรรมชาติในท้องถิ่นเพื่อการจัดการขยะที่ยั่งยืนโดยผู้จัดทำได้แบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 เล่ม ดังนี้
เล่มที่ 1 เรื่องประเภทของขยะ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการที่นักเรียนได้เรียนรู้ชุดกิจกรรม Zero Waste ครบทั้ง 5 เล่ม ผลคะแนนจากการทำแบบทดสอบก่อน - หลัง เรียนรู้ชุดกิจกรรม Zero Waste คิดเป็นร้อยละ ดังนี้
เล่มที่ 1 เรื่องประเภทของขยะ นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 67.39
เล่มที่ 2 เรื่องลดขยะโดยหลัก 3ช นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 75.87
|
0 | 0 |
3. จัดตั้งธนาคารขยะ |
||
วันที่ 12 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
4. การจัดการขยะอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชน |
||
วันที่ 12 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำทางโรงเรียนได้มีการจัดทำขยะอินทรีย์จากขยะเปียก เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่นักเรียน และเป็นปุ๋ย กับต้นไม้ภายในบริเวณโรงเรียน โดยใช้วัสดุจากขยะเปียก เช่น ใบไม้ หญ้าเศษอาหารจากโรงครัวและ เศษอาหารที่เหลือจากการรับประทานอาหารที่นักเรียนไม่สามารถทานได้ เช่น กระดูกสัตว์ น้ำ แกงที่เหลือ เปลือกผลไม้ เป็นต้น นำมาทำขยะอินทรีย์โดยการขุดหลุมแล้วนำถังพลาสติกมาใส่ในหลุมเทขยะเปียกใส่แล้วปิดฝา ทางโรงเรียนได้ขุดหลุมบริเวณใต้ต้นไม้เพื่อนำขยะเปียก เช่น เศษอาหารจากการรับประทานอาหารกลางวัน ใสในหลุมเพื่อเป็นปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งทางโรงเรียนได้ขุดหลุมดังกล่าวไว้หลายจุด ทั่วทั้งบริเวณโรงเรียนและทางโรงเรียนเพ่ิมพื้นที่ บริเวณแปลงผักของนักเรียน เพื่อเป็นปุ๋ยอินทรีย์สำหรับแปลงผักของนักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการที่โรงเรียนได้จัดกิจกรรมการจัดการขยะอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชนขึ้น ผลที่ได้รับจากการทำกิจกรรม ดังนี้
|
0 | 0 |
5. จัดอบรมการจัดการขยะ |
||
วันที่ 6 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
6. รายงานผลโครงการ |
||
วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำสรุปผลการดำเนินงานและจัดทำรูปเล่มรายงานผลการดำเนินโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีรูปเล่มรายงานผลการดำเนินโครงการ จำนวน 4 เล่ม
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมการจัดการขยะ 1. นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการขยะก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 40 2. หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84 ของนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการขยะมากขึ้น 3. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องของขยะมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการแยกประเภทของขยะ การทิ้งขยะให้ถูกประเภท การนำขยะไปใช้ประโยชน์ ทำให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจร้อยละ 92.87
กิจกรรมที่ 2 จัดทำชุดกิจกรรม Zero Waste
จากการที่นักเรียนได้เรียนรู้ชุดกิจกรรม Zero Waste ครบทั้ง 5 เล่ม ผลคะแนนจากการทำแบบทดสอบก่อน - หลัง เรียนรู้ชุดกิจกรรม Zero Waste คิดเป็นร้อยละ ดังนี้
เล่มที่ 1 เรื่องประเภทของขยะ นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 67.39
เล่มที่ 2 เรื่องลดขยะโดยหลัก 3ช นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 75.87
เล่มที่ 3 เรื่องธนาคารขยะ นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 77.23
เล่มที่ 4 เรื่องขยะอินทรีย์ นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 77.88
เล่มที่ 5 เรื่องขยะรีไซเคิล นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 82.79
กิจกรรมที่ 3 จัดตั้งธนาคารขยะ
1. ปริมาณขยะที่รับซื้อได้ในแต่ละเดือนเฉลี่ย 400-500 กก.
2. โรงเรียนนำขยะไปขายต่อที่โรงรับซื้อของเก่าได้เงินเฉลี่ยเดือนละ 600 บาท
3. ปริมาณขยะประเภทขวดและกระดาษ ในโรงเรียนลดน้อยลงร้อยละ 80
4. ฝึกให้นักเรียนสามารถช่วยเหลือครอบครัว และสร้างรายได้ให้กับครอบครัว
กิจกรรมที่ 4 การจัดการขยะอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชน
จากการที่โรงเรียนได้จัดกิจกรรมการจัดการขยะอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชนขึ้น ผลที่ได้รับจากการทำกิจกรรม ดังนี้
- ทำให้ลดกลิ่นเน่าเหม็นจากเศษอาหารกลางวันได้ ร้อยละ 100
- ลดการคุ้ยเขี่ยเศษอาหารของสัตว์
- โรงอาหารมีความสะอาดมากขึ้น
- เป็นปุ๋ยให้กับต้นไม้ภายในโรงเรียน
- นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในครัวเรือนของนักเรียนได้
กิจกรรมที่ 5 การจัดการขยะรีไซเคิลในโรงเรียนและชุมชน
1. นักเรียนชั้นอนุบาล 2 - ป.6 ร้อยละ 80 สามารถแยกขยะได้
2. นักเรียนสามารถนำขยะรีไซเคิลมาประดิษฐ์เป็นของใช้เป็นชิ้นงานของตนเองได้
3. นักเรียนสามารถนำชิ้นงานของตนเองมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ และนักเรียนร้อยละ 100 มีความพึงพอใจในผลงานของตนเอง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัด : นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกวิธี |
0.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษามีแนวทางในการจัดลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด : 1. ปริมาณขยะในโรงเรียนและชุมชน ลดลงร้อยละ 70 2. โรงเรียนมีการจัดการขยะอย่างถูกวิธี ร้อยละ 80 |
0.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 26 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 74 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกวิธี (2) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษามีแนวทางในการจัดลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมการจัดการขยะ (2) จัดทำชุดกิจกรรม Zero Waste (3) จัดตั้งธนาคารขยะ (4) การจัดการขยะอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชน (5) การจัดการขยะรีไซเคิลในโรงเรียนและชุมชน (6) รายงานผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ Zero Waste โรงเรียนและชุมชนบ้านตูแตหรำเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์ จังหวัด
รหัสโครงการ 2566-L8010-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางปิยะวดี ยาวาหาบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......