กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง


“ โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและจัดการโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ปีงบประมาณ 2566 ”



หัวหน้าโครงการ
นางศิรานันท์ บุตรบุรี

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและจัดการโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-50105-01-07 เลขที่ข้อตกลง 3/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2566 ถึง 25 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและจัดการโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและจัดการโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและจัดการโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-50105-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2566 - 25 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,445.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลกรวมทั้งในประเทศไทย จากการประเมินสถานการณ์พบว่า อัตราชุกของโรคเหล่านี้ มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นแบบชันอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นสถานการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง องค์การอนามัยโลก (WHO) รายงานว่า ในปี 2552 ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีจำนวน 108 ล้านคน เพิ่มขึ้นเป็น 422 ล้านคน ในปี 2557 โดยระดับคุณภาพของระบบงานในการดูแลผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังดำเนินการในลักษณะตั้งรับ แม้ว่าจะมีนวัตกรรมกิจกรรมเชิงรุกอยู่ในหน่วยบริการระดับต่างๆอยู่แล้วแต่ก็ยังไม่เป็นระบบที่ต่อเชื่อมกันได้ดีมีการจัดการกับพฤติกรรมเสี่ยงน้อย ระบบติดตามภาวะแทรกซ้อนยังขาดความต่อเนื่อง
จากการสรุปผลการดำเนินงานเพื่อตอบสนอง Service Plan สาขาโรคไม่ติดต่อ (NCD DM,HT,CVD) ในปี 2565 เพื่อวิเคราะห์ปัญหาปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ พบว่าจังหวัดพัทลุงมีอัตราตายของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มผู้ป่วยโรคเบาหวานสูงขึ้นทุกๆปี อันเนื่องมาจากปัจจัยเสี่ยงเชิงลบที่คุกคามภาวะสุขภาพ ได้แก่การบริโภคอาหารที่ไม่สมดุลการออกกำลังกายอย่างไม่เพียงพอรวมถึงการปฏิบัติตัวที่ไม่เหมาะสมจากสถิติการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ของ รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง พบว่า มีประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 1,571 คน ได้รับการคัดกรองเบาหวานโดยการเจาะปลายนิ้ว จำนวน 1,465 คนคิดเป็นร้อยละ 93.25 พบประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง จำนวน 372 คน โดยประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองได้รับการเจาะหาระดับน้ำตาลในเลือดซ้ำ จำนวน 372 คน คิดเป็นร้อยละ 97.38 และมีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.31 ในส่วนของผู้ป่วยโรคเบาหวานในปี 2565 มีผู้ป่วยเบาหวานจำนวนทั้งหมด 155 คน ได้รับการตรวจเลือดประจำปี จำนวน 138 คน คิดเป็นร้อยละ 89.03 มีผู้ป่วยที่คุมน้ำตาลได้ดี จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 50.97 ในส่วนของการดำเนินงานป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ในปี 2565 ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,358 คน คน ได้รับการคัดกรอง จำนวน 1,254 คนคิดเป็นร้อยละ 92.34 พบประชากร กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน 199 คน ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน จำนวน 198 คน คิดเป็นร้อยละ 99.50 และมีผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 3.03 ในส่วนของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีผู้ป่วย จำนวนทั้งหมด 382 คน มีผู้ป่วยที่คุมคุมความดันได้ดีจำนวน 297 คน คิดเป็นร้อยละ 77.75 จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าแม้ในแต่ละปีประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป รวมทั้งผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จะต้องได้รับการดูแลและตรวจสุขภาพประจำปีตามเกณฑ์มาตรฐาน ตามแนวทางการดำเนินงานที่กระทรวงสาธารณสุขได้จัดทำไว้เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามตัวชี้วัด (KPI) เพื่อตอบสนอง Service Plan สาขาโรคไม่ติดต่อ (NCD DM,HT,CVD) จึงมีความจำเป็นต้องมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายสุขภาพรวมตั้งประชาชนหรือผู้ป่วย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงและการพัฒนาระบบบูรณาการการป้องกันและจัดการโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงเพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรครายใหม่และเพิ่มอัตราการควบคุมโรคได้ ยังคงเป็นปัญหาที่ท้าทายและจำเป็นต้องดำเนินการอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ได้นำวิธีคิด“การจัดการโรค”(Diseases Management) “รูปแบบโรคเรื้อรัง” (Chronic Care Model) และ“รูปแบบการจัดการดูแลโรคเรื้อรัง”(“Chronic Diseases Management Model”)มาบูรณาการกับกรอบความคิด“รูปแบบการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” ขององค์การอนามัยโลก จนเกิดกรอบแนวคิดบูรณาการที่ เน้น ‘ความต่อเนื่อง’ ‘บูรณาการ’และ‘ประสานดำเนินการ’ ทั้งในส่วนของการป้องกัน ส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาลเข้าด้วยกัน จึงได้จัดทำ "โครงการพัฒนาระบบบูรณาการการป้องกันและจัดการโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนทั่วไปรวมทั้งผู้ป่วยมีความรู้และมีความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันโรคและภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นจากพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ รวมทั้งเพื่อให้ประชาชนกลุ่มนี้ได้เข้าถึงบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และจัดการโรคที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต รวมถึงบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกตามกฎหมายประกอบโรคศิลปะ ตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติประกาศกำหนดไว้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองโรคเบาหวานในประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป
  2. เพื่อคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป
  3. เพื่อแก้ปัญหาประชากรที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานจากการคัดกรอง
  4. เพื่อแก้ปัญหาประชากรที่มีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง
  5. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดับโลหิตสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
  6. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในชุมชนร่วมกับ อสม.
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องโรค อาหารและการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. กิจกรรมติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคเบาหวาน
  4. ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มแฝง/เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (SBP=120-139 mmHg. หรือ DBP = 80-89 mmHg.) หลังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  5. ประเมิน CVD Risk และติดตามเยี่ยมบ้านเพื้อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยงCVD riskและผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง
  6. อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานและตรวจประเมินสุขภาพช่องปากและเท้าพร้อมฝึกปฏิบัติ
  7. ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 420
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละของประชากรที่มีอายุ35ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวานเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ95
  2. ร้อยละของประชากรที่มีอายุ35ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ95
  3. ร้อยละประชากรมีความเสี่ยงโรคเบาหวานลดลง
  4. ร้อยละของประชากรอายุ35ปีขึ้นไปมีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตลดลง
  5. ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  6. ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ50

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มแฝง/เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (SBP=120-139 mmHg. หรือ DBP = 80-89 mmHg.) หลังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ติดตามวัดความดันที่บ้านในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงโดย อสม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1.กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันที่บ้าน ผลลัพธ์ 1.กลุ่มเสี่ยงได้รับรู้สถาระสุขภาพของตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ถูกต้อง  เหมาะสม

 

0 0

2. ประเมิน CVD Risk และติดตามเยี่ยมบ้านเพื้อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยงCVD riskและผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง

วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประเมิน CVD Risk ในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 2.ติดตามเยี่ยมบ้านร่วมกับอสม.เพื่อให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยงCVD riskและผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการประเมิน CVD risk มากกว่า ร้อยละ 90 ผลลัพธ์ 1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยง CVD Risk มีสุขภาวะที่ดีขึ้น และ CVD Riskลดลง

 

0 0

3. คัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในชุมชนร่วมกับ อสม.

วันที่ 11 เมษายน 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.เจ้าหน้าที่ รพ.สต. จัดกิจกรรมตรวจคัดกรอง โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง  ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ชุมชนร่วมกับ อสม. จำนวน 5 หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ  พร้อมแจ้งผลการตรวจแก่ผู้รับบริการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1.ผลงานการคัดกรองเบาหวานจำนวน 1,507 คน คิดเป็นร้อยละ 95.14 ผลลัพธ์ 1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้ทราบสภาวะสุขภาพของตนเอง  สามารถดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้เหมาะสม  พบว่า  กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน  จำนวน  82  คน  คิดเป็นร้อยละ 5.44

 

0 0

4. กิจกรรมติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคเบาหวาน

วันที่ 18 เมษายน 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ติดตามเจาะเลือดกลุ่มเสี่ยงเบาหวานซ้ำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการเจาะเลือดเพื่อหาระดับน้ำตาลในเลือด  จำนวน  23  คน คิดเป็นร้อยละ 95.83 ผลลัพธ์ 1.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานทราบสภาวะสุขภาพ  ค่าน้ำตาลในเลือดเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้

 

0 0

5. อบรมให้ความรู้เรื่องโรค อาหารและการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

วันที่ 27 เมษายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรค  ตามหลัก 3 อ.2 ส.  โดยวิทยากร  นางสมศรี  แก้วทิพย์  ข้าราชการบำนาญ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1.กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง  จำนวน  50  คน  ได้เข้าร่วมประชุมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรค  ตามหลัก 3 อ.2 ส.
ผลลัพธ์ 1.กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงทราบสภาวะสุขภาพของตัวเองและมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

 

0 0

6. อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานและตรวจประเมินสุขภาพช่องปากและเท้าพร้อมฝึกปฏิบัติ

วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานพร้อมฝึกปฏิบัติ โดยนางยุพิน  นาคะวิโรจน์  ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 2.ให้ความรู้และตรวจประเมินสุขภาพช่องปากพร้อมฝึกปฏิบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1.ผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 80  ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและสุขภาพเท้า ผลลัพธ์ 1.ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลสุขภาพช่องปากและเท้าได้เพื่อช่วยลดภาวะแทรกซ้อนของโรค

 

140 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองโรคเบาหวานในประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชากรที่มีอายุ35ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวานเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ95
93.25 95.00

 

2 เพื่อคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชากรที่มีอายุ35ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ95
92.34 95.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาประชากรที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานจากการคัดกรอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชากรมีความเสี่ยงโรคเบาหวานลดลง
24.25 23.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาประชากรที่มีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชากรอายุ35ปีขึ้นไปมีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตลดลง
14.58 13.00

 

5 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดับโลหิตสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดับโลหิตสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
77.75 80.00

 

6 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ50
50.97 55.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 420
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 420
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองโรคเบาหวานในประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป (2) เพื่อคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป (3) เพื่อแก้ปัญหาประชากรที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานจากการคัดกรอง (4) เพื่อแก้ปัญหาประชากรที่มีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง (5) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดับโลหิตสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี (6) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในชุมชนร่วมกับ อสม. (2) อบรมให้ความรู้เรื่องโรค อาหารและการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (3) กิจกรรมติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคเบาหวาน (4) ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มแฝง/เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (SBP=120-139 mmHg. หรือ DBP = 80-89 mmHg.) หลังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (5) ประเมิน CVD Risk และติดตามเยี่ยมบ้านเพื้อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยงCVD riskและผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง (6) อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานและตรวจประเมินสุขภาพช่องปากและเท้าพร้อมฝึกปฏิบัติ (7) ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและจัดการโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ปีงบประมาณ 2566

รหัสโครงการ 66-50105-01-07 รหัสสัญญา 3/2566 ระยะเวลาโครงการ 3 มกราคม 2566 - 25 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและจัดการโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ 66-50105-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศิรานันท์ บุตรบุรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด