กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการพัฒนาศักยภาพเทศบาลเมืองปัตตานีอาสามสมัครประจำครอบครัว (อสค.)ต้นแบบ และการเชือมต่อเครือข่าย อสม. เทศบาลเมืองปัตตานี ”

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางวันอารีณาสะเหรม

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพเทศบาลเมืองปัตตานีอาสามสมัครประจำครอบครัว (อสค.)ต้นแบบ และการเชือมต่อเครือข่าย อสม. เทศบาลเมืองปัตตานี

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพเทศบาลเมืองปัตตานีอาสามสมัครประจำครอบครัว (อสค.)ต้นแบบ และการเชือมต่อเครือข่าย อสม. เทศบาลเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพเทศบาลเมืองปัตตานีอาสามสมัครประจำครอบครัว (อสค.)ต้นแบบ และการเชือมต่อเครือข่าย อสม. เทศบาลเมืองปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพเทศบาลเมืองปัตตานีอาสามสมัครประจำครอบครัว (อสค.)ต้นแบบ และการเชือมต่อเครือข่าย อสม. เทศบาลเมืองปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,670.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ข้อมูลและข่าวสารที่ดีเป็นสิ่งสำคัญ สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาสุขภาพของประชาชนได้ แต่สิ่งสำคัญกว่าข้อมูลข่าวสารในทศวรรษนี้ คือ การมีและสร้างเครือข่าย หากสามารถพัฒนาระบบเครือข่ายทะลุทะวง ต่อยอดจากชุมชนไปถึงทุกครัวเรือนได้ ก็จะเป็นพลังอันมหาศาล ที่ทำให้ครอบครัวได้รับการดูแลสุขภาพและถ่ายทอดความรู้สม่ำเสมอ อันเป็นการเพิ่มการรู้เท่าทันในด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนมากขึ้น ซึ่งเป็นการสร้างโอกาสให้ประชาชนสุขภาพดี พึ่งตนเองได้ มีศักดิ์ศรีและความภาคภูมิใจที่ได้ทำหน้าที่พลเมืองไทย ในการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน เจ้าหน้าที่มีความสุขในการทำงาน สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพทั้งในส่วนของภาคประชาชนและภาครัฐในระบบสุขภาพของประเทศ โรคที่เป็นปัญหาอันเกิดจากพฤติกรรมของประชาชน มีโอกาสลดลงและเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบสุขภาพของประเทศมีความยั่งยืน กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายเน้นการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค โดยการสร้างโครงข่ายความรู้ด้านสุขภาพถึงครัวเรือน มุ่งเน้นให้คนไทยระดับบุคคล ครอบครัว สามารถวิเคราะห์และจัดการความเสี่ยงภัยสุขภาพ ตลอดจนดูแลสุขภาพด้วยตนเองแบบพึ่งตนเองได้ ด้วยการมีอาสาสมัครประจำครอบครัว(อสค.) ต่อยอดการดูแลสุขภาพจาก อสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ขยายผลไปถึงครอบครัว ๑ ครอบครัวจะมีอย่างน้อย ๑ คน ที่สามารถดูแลสุขภาพตนเอง และสมาชิกที่มีในครอบครัวได้ รวมทั้งมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและแก้ไขปัญหาของชุมชน เป้าหมายอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) เขตเทศบาลเมืองปัตตานี พบว่ามีจำนวนทั้งสิ้น ๒,๕๖๘ ราย แยกเป็นตำบลสะบารัง จำนวน ๑๐๘๗ ราย ขึ้นทะเบียนในระบบข้อมูลอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ๒๗๗ ราย ตำบลอาเนาะรู จำนวน ๘๔๔ ราย ขึ้นทะเบียนในระบบข้อมูลอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ๒๐ ราย และตำบลจะบังติกอ จำนวน ๖๓๙ ราย ขึ้นทะเบียนในระบบข้อมูลอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ๑๗ ราย ซึ่งถือว่ามีการขึ้นทะเบียนที่ไม่ถึงครึ่งของจำนวนทั้งหมด จึงเป็นส่วนหนึ่งที่ควรจัดโครงการ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ให้กับชาวบ้านและการกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานด้านอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) เห็นผลชัดเจนมากขึ้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนเทศบาลเมืองปัตตานี จึงขอสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ต้นแบบ และการเชื่อมเครือข่าย อสม.เทศบาลเมืองปัตตานี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑.จัดประชุม ทีม งาน
  2. จัดเตรียมข้อมูลและจัดทำเอกสารคู่มือ สำหรับ อสค. ในเรื่องของการดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคไตเรื้อรัง (CKD) ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จำนวน ๕๐ เล่ม
  3. รียนร่วมญาติของ อสค.ร่วมกับ อสม. และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบชุมชนและทีมสหวิชาชีพ เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจและทักษะของ อสค. พร้อมเสริมทักษะ เพิ่มพูนความรู้และฟื้นฟูต่อเนื่อง ในการพัฒนาศักยภาพ อสค. ในช่วง 1 เดือน 3 เดือนและ 6 เดือน จำนวน ๕๒ คน
  4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และถอดบทเรียน เพื่อพัฒนาศักยภาพของ อสค.และ อสม.เพื่อการต่อยอดในการพัฒนาศักยภาพ อสค.ชุมชนอื่นๆในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ( อสม., อสค. และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 25
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและสามารถดูแลตนเองได้ พร้อมทั้งมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชน เป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับครอบครัว และระดับชุมชนได้
๒. ทุกครอบครัวเป้าหมายได้รับการดูแลจากอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ๓. อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) มีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกับ อสม. โดย - อสม. เป็นเสมือนแม่ข่ายในการทำงานและถ่ายทอดความรู้สู่อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) และรับความรู้จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขสู่ประชาชนได้อย่างครอบคลุม มากยิ่งขึ้น - อสม. และอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) จะเป็นเสมือนใยแมงมุมที่สานต่อเป็นร่างแหเดียวกัน ไม่ซ้ำซ้อนกัน และ - อสค. ได้รับการถ่ายทอดความรู้ คำแนะนำและคำปรึกษาจาก อสม. เพื่อให้อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) มีศักยภาพสูงขึ้น มีความมั่นใจต่อการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างและการถ่ายทอดความรู้สู่ประชาชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 25
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.จัดประชุม  ทีม งาน (2) จัดเตรียมข้อมูลและจัดทำเอกสารคู่มือ สำหรับ อสค. ในเรื่องของการดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคไตเรื้อรัง (CKD) ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)  จำนวน ๕๐ เล่ม  (3) รียนร่วมญาติของ อสค.ร่วมกับ อสม. และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบชุมชนและทีมสหวิชาชีพ เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจและทักษะของ อสค. พร้อมเสริมทักษะ เพิ่มพูนความรู้และฟื้นฟูต่อเนื่อง ในการพัฒนาศักยภาพ อสค. ในช่วง 1 เดือน 3 เดือนและ 6 เดือน จำนวน ๕๒ คน (4) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และถอดบทเรียน เพื่อพัฒนาศักยภาพของ อสค.และ อสม.เพื่อการต่อยอดในการพัฒนาศักยภาพ อสค.ชุมชนอื่นๆในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ( อสม., อสค. และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพเทศบาลเมืองปัตตานีอาสามสมัครประจำครอบครัว (อสค.)ต้นแบบ และการเชือมต่อเครือข่าย อสม. เทศบาลเมืองปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวันอารีณาสะเหรม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด