กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน


“ โครงการปรับเปลี่ยน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง บ้านท่าข้าม ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางหทัยทิพย์ ณ พัทลุง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง บ้านท่าข้าม ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง บ้านท่าข้าม ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง บ้านท่าข้าม ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง บ้านท่าข้าม ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพปัจจุบันปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขส่วนใหญ่มีสาเหตุจากประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชนซึ่งได้จากสถานการณ์ของปัญหาสาธารณสุขที่เป็นอยู่ในปัจจุบันที่พบว่ากลุ่มโรค Metabolic โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน อ้วนลงพุง โรคหัวใจและหลอดเลือด กำลังเป็นปัญหาสำคัญในทุกพื้นที่ อีกทั้งยังมีแนวโน้มเป็นปัญหาต่อเนื่องในอนาคต ปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหากลุ่มโรค Metabolic ได้แก่ การรับประทานอาหารที่มีน้ำตาล ไขมันสูง การรับประทานผักและผลไม้ไม่เพียงพอการสูบบุหรี่ การดื่มที่มีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การขาดการออกกำลังกายตลอดจนสภาพปัญหาทางจิตใจ อารมณ์ และความเครียดทั้งในครอบครัว และชุมชน
จากผลการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าข้ามประจำปี 2566 พบประชากรกลุ่มมีความดันโลหิตปกติจำนวน 238คนประชากรที่มีภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 76 คน ประชากรสงสัยป่วยจำนวน 67 คน ประชากรโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 119 คน ประชากรมีค่าน้ำตาลในเลือดปกติ จำนวน 275 คนประชากรมีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 156 คน ประชากรสงสัยป่วยจำนวน 8 คน และประชากรโรคเบาหวานจำนวน 54 คน ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มประชากรที่มีสุขภาพปกติ ประชากรกลุ่มเสี่ยง ประชากรกลุ่มสงสัยป่วย ประชากรกลุ่มป่วย เป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพื่อส่งเสริมให้ประชากรที่มีสุขภาพปกติมีสุขภาพที่ดีต่อเนื่อง ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ประชากรกลุ่มสงสัยป่วยได้รับการตรวจคัดกรองเพิ่มเติมเพื่อช่วยให้แพทย์สามารถวินิจฉัยได้ถูกต้องเหมาะสม ประชากรกลุ่มป่วยได้รับการดูแลควบคุมโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดการเกิดภาวะทุพลภาพจากภาวะแทรกซ้อนของโรค ลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ และเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าข้าม ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในชุมชนดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง บ้านท่าข้าม ปีงบประมาณ 2566

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน เข้าสู่กระบวนการดูแลและวินิจฉัยโรคตาม(CPG)
  4. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการติดตามเจาะเลือดซ้ำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมติดตามกลุ่มสงสัยความดันโลหิตสูงและกลุ่มป่วยควบคุมโรคไม่ได้ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน
  2. ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการติดตามเจาะเลือดซ้ำ
  3. กิจกรรมตรวจประเมินสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวาน
  4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่เจ้าเจ้าหน้าที่ อสม. และแกนนำในการติดตามประชากรกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย และกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 175
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 307
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
2.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานได้รับการเจาะเลือดซ้ำตามแนวทางปฏิบัติการดูแลประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(CPG) 3.กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงและกลุ่มป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมโรคไม่ได้ ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน (HMBP) และปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการดูแลประชากรกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง (CPG) 4.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด 5.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้าตามเกณฑ์มาตรฐานได้รับการส่งต่อในรายที่พบความผิดปกติ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
37.00 20.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
37.00 20.00

 

3 ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน เข้าสู่กระบวนการดูแลและวินิจฉัยโรคตาม(CPG)
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
37.53 30.00

 

4 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการติดตามเจาะเลือดซ้ำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง
37.35 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 482
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 175
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 307
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน เข้าสู่กระบวนการดูแลและวินิจฉัยโรคตาม(CPG) (4) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการติดตามเจาะเลือดซ้ำ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมติดตามกลุ่มสงสัยความดันโลหิตสูงและกลุ่มป่วยควบคุมโรคไม่ได้ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน (2) ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการติดตามเจาะเลือดซ้ำ (3) กิจกรรมตรวจประเมินสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวาน (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่เจ้าเจ้าหน้าที่ อสม. และแกนนำในการติดตามประชากรกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย และกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง บ้านท่าข้าม ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหทัยทิพย์ ณ พัทลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด