กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า


“ โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน ”

ณ ห้องประชุมดาหลา โรงพยาบาลทุ่งหว้า

หัวหน้าโครงการ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคอำเภอทุ่งหว้า

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน

ที่อยู่ ณ ห้องประชุมดาหลา โรงพยาบาลทุ่งหว้า จังหวัด

รหัสโครงการ 2566 - L8009 - 02 - 008 เลขที่ข้อตกลง 007/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ ห้องประชุมดาหลา โรงพยาบาลทุ่งหว้า

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อคนในชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจในโทษของสาร โพลาร์ (2) 2. เพื่อให้คนในชุมชนได้ตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน/การเลือกซื้อ/การประกอบอาหาร (3) 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ 3.ติดต่อวิทยากร 4.กิจกรรมอบรมให้ความรู้สารโพลาร์ 5.กิจกรรมลงพื้นที่เก็บข้อมูล ทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมัน 6.สรุปผลกิจกรรมโครงการ .มีการเฝ้าระวังสถานการณ์ของการใช้น้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลทุ่งหว้า ประชาชน แกนนำ ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงภัยร้ายของน้ำมันทอดซ้ำ ว่าอาหารทอดที่มีหน้าตาน่ารับประทาน นอกจากจะมีอันตรายจากความมัน จะทำให้เกิดโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันลิตสูง ยังมีภัยที่เกิดจากน้ำมันที่ใช้ทอดซ้ำมีความเสี่ยงที่ร่างกายจะได้รับสารก่อมะเร็ง รวมไปถึงสารที่จะทำให้เกิดโรคหัวใจอีกด้วย นอกจากนี้ ผู้ที่ปรุงอาหารด้วยน้ำมันทอดซ้ำ จะมีความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งปอด เนื่องจากสูดดมควันที่เกิดขึ้นจากการปรุงด้วยน้ำมันทอดซ้ำเข้าไป ผู้เข้าร่วมรู้จักการเลือกใช้น้ำมันและวิธีสังเกตน้ำมันที่ทอดซ้ำได้ อีกทั้งยังรู้ถึงการใช้ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ กำหนดให้มีสารโพลาร์ได้ไม่เกินร้อยละ 25 ประโยชน์ของการใช้ชุดทดสอบ คือ ผู้ที่ทอดอาหารเพื่อจำหน่าย จะได้ทราบว่าเมื่อใดถึงควรจะเปลี่ยนน้ำมันที่ใช้ปรุงอาหารและจะได้เปลี่ยนน้ำมันตามช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงและอันตรายที่จะเกิดขึ้นผู้ปรุงอาหารและต่อผู้บริโภค มีความถูกต้อง แม่นยำ ใช้งานง่ายและมีราคาประหยัด สามารถตรวจดูคุณภาพของน้ำมันได้ทันที..ทุกคนมีความตระหนัก สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน ประชาชนผู้บริโภคอาหารทอดได้รับความปลอดภัย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ค่านิยมบริโภคอาหารทอดที่เพิ่มมากขึ้นจนผลิตภัณฑ์อาหารทอดต่างๆ กลายเป็นอาหารขายดีทั้งในระดับชุมชนจนถึงห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่มีการใช้น้ำมันทอดอาหารทั้งที่ทำจากสัตว์และพืชโดยเฉพาะน้ำมันพืชที่แต่ละปีประเทศไทยบริโภคถึงปีละ๘๐๐,๐๐๐ตันซึ่งข้อเท็จจริงพบว่าผู้ประกอบการอาหารทอด จะใช้น้ำมันในการทอดซ้ำหลายครั้งจนลักษณะทางกายภาพของน้ำมันหรือคุณลักษณะของอาหารเสียไปจึงเปลี่ยนน้ำมันใหม่ หรือเติมน้ำมันใหม่ผสมลงไปทอดอาหารซ้ำๆต่อไปการเสื่อมสภาพของน้ำมันจากการทอดเกิดสารประกอบที่เป็นอันตรายต่อร่างกายคือ “สารโพลาร์”ที่เป็นสาเหตุหนึ่งของโรคความดันโลหิตสูงหลอดเลือดหัวใจตีบ และโรคมะเร็งซึ่งในน้ำมันสำหรับทอดอาหารกำหนดให้มีปริมาณสารโพลาร์ไม่เกินร้อยละ๒๕ของน้ำหนักโดยการตรวจปริมาณสารโพลาร์ในน้ำมันจะช่วยให้ผู้ประกอบการอาหารทอดทราบเวลาที่ต้องเปลี่ยนน้ำมันของร้านตนเองที่ยังคงความปลอดภัย และลดต้นทุนตามสมควร นอกจากนี้การป้องกันไม่ให้น้ำมันที่เสื่อมสภาพแล้วกลับมาสู่วงจรการบริโภค โดยนำไปผลิตเป็นน้ำมันไบโอดีเซลหรือนำไปใช้ในการผลิตสบู่ซึ่งถือเป็นการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าและปลอดภัยที่ดีทางหนึ่งด้วยตำบลทุ่งหว้า มีวัฒนธรรมการรับประทานอาหารทอดโดยแพร่หลาย เช่น อาหารเช้านิยมรับประทานข้าวเหนียวไก่ทอด ดื่มน้ำชา คู่กับขนมทอด เช่น ปาท่องโก๋กล้วยทอด เป็นต้น จากสถานการณ์การตรวจน้ำมันทอดซ้ำ ในเขตตำบลทุ่งหว้า ที่ผ่านมา เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคตำบลทุ่งหว้า ได้สุ่มเก็บตัวอย่าง ตั้งแต่ปี 2563 -2565 พบว่า น้ำมันที่สุ่มตรวจผ่านมาตรฐานร้อยละ90.34จะเห็นได้ว่า ยังมีน้ำมันทอดซ้ำที่ตกมาตรฐานเฉลี่ยอยู่ในพื้นที่ดังนั้น เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคตำบลทุ่งหว้า โดยความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคีเครือข่ายผู้บริโภคภาคประชาชน จึงได้จัดทำโครงการ “โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน”เพื่อคนในชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจในโทษของสารโพลาร์ได้ตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน/การเลือกซื้อ/การประกอบอาหารได้อย่างปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อคนในชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจในโทษของสาร โพลาร์
  2. 2. เพื่อให้คนในชุมชนได้ตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน/การเลือกซื้อ/การประกอบอาหาร
  3. 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ 3.ติดต่อวิทยากร 4.กิจกรรมอบรมให้ความรู้สารโพลาร์ 5.กิจกรรมลงพื้นที่เก็บข้อมูล ทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมัน 6.สรุปผลกิจกรรมโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สถานการณ์ปัญหาสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ ได้รับการแก้ไข 2.การเฝ้าระวังสถานการณ์ความปลอดภัยของน้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลทุ่งหว้า อันเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค 3.ประชาชนผู้บริโภคอาหารทอดในเขตพื้นที่ตำบลทุ่งหว้า ได้รับความปลอดภัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.จัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ 3.ติดต่อวิทยากร 4.กิจกรรมอบรมให้ความรู้สารโพลาร์ 5.กิจกรรมลงพื้นที่เก็บข้อมูล ทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมัน 6.สรุปผลกิจกรรมโครงการ

วันที่ 15 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)
    ขั้นตอนวางแผนงาน
  1. ขั้นเตรียมการ -เขียนโครงการ  และนำเสนอเพื่อขออนุมัติ -ประสานงานกับหน่วยงานและกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง -ประชาสัมพันธ์โครงการให้สมาชิกกลุ่มรับทราบ -จัดเตรียมเอกสาร  และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการจัดโครงการ 2. ขั้นดำเนินงาน 1.จัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย 2.ประชาสัมพันธ์โครงการให้ทราบ 3.ติดต่อวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในเรื่องความรู้ของสารโพลาร์ จากสถานบริการสาธารณสุข 3. กิจกรรมที่จะดำเนินงานตามโครงการ           ๑. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย  (คณะทำงาน / ประชาชน,ผู้ประกอบการ)           2. ลงพื้นที่สำรวจ/เก็บข้อมูล น้ำมันที่ใช้ทอดในเขตตำบลทุ่งหว้า
          ๓. ทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมัน           ๔. สรุปและรายงานผลกิจกรรมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผลการดำเนินงาน .......มีการเฝ้าระวังสถานการณ์ของการใช้น้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลทุ่งหว้า  ประชาชน  แกนนำ  ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงภัยร้ายของน้ำมันทอดซ้ำ  ว่าอาหารทอดที่มีหน้าตาน่ารับประทาน  นอกจากจะมีอันตรายจากความมัน  จะทำให้เกิดโรคอ้วน  โรคเบาหวาน  โรคความดันลิตสูง ยังมีภัยที่เกิดจากน้ำมันที่ใช้ทอดซ้ำมีความเสี่ยงที่ร่างกายจะได้รับสารก่อมะเร็ง  รวมไปถึงสารที่จะทำให้เกิดโรคหัวใจอีกด้วย  นอกจากนี้  ผู้ที่ปรุงอาหารด้วยน้ำมันทอดซ้ำ  จะมีความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งปอด  เนื่องจากสูดดมควันที่เกิดขึ้นจากการปรุงด้วยน้ำมันทอดซ้ำเข้าไป  ผู้เข้าร่วมรู้จักการเลือกใช้น้ำมันและวิธีสังเกตน้ำมันที่ทอดซ้ำได้  อีกทั้งยังรู้ถึงการใช้ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ  กำหนดให้มีสารโพลาร์ได้ไม่เกินร้อยละ  25
        ประโยชน์ของการใช้ชุดทดสอบ  คือ  ผู้ที่ทอดอาหารเพื่อจำหน่าย  จะได้ทราบว่าเมื่อใดถึงควรจะเปลี่ยนน้ำมันที่ใช้ปรุงอาหารและจะได้เปลี่ยนน้ำมันตามช่วงเวลาที่เหมาะสม  เพื่อลดความเสี่ยงและอันตรายที่จะเกิดขึ้นผู้ปรุงอาหารและต่อผู้บริโภค  มีความถูกต้อง  แม่นยำ  ใช้งานง่ายและมีราคาประหยัด  สามารถตรวจดูคุณภาพของน้ำมันได้ทันที..ทุกคนมีความตระหนัก  สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน  ประชาชนผู้บริโภคอาหารทอดได้รับความปลอดภัย
2.ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์           บรรลุตามวัตถุประสงค์                     ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ.............................................................................. 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม...ผู้เข้าร่วม  65  คน / คณะทำงาน  15  คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ.......................33,250.............บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง................................33,250............บาท  คิดเป็นร้อยละ........100…...... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุน................................................บาท  คิดเป็นร้อยละ........................ 4.ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน   -ไม่มี -

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อคนในชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจในโทษของสาร โพลาร์
ตัวชี้วัด : 1. มีผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจโทษของสารโพลาร์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
100.00 100.00 100.00

 

2 2. เพื่อให้คนในชุมชนได้ตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน/การเลือกซื้อ/การประกอบอาหาร
ตัวชี้วัด : 2. ผลการประเมินผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนัก และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน ร้อยละ 80
100.00 100.00 100.00

 

3 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน
ตัวชี้วัด : 3. คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจ ใช้แบบทดสอบได้ ร้อยละ 90
100.00 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อคนในชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจในโทษของสาร โพลาร์ (2) 2. เพื่อให้คนในชุมชนได้ตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน/การเลือกซื้อ/การประกอบอาหาร (3) 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ 3.ติดต่อวิทยากร 4.กิจกรรมอบรมให้ความรู้สารโพลาร์ 5.กิจกรรมลงพื้นที่เก็บข้อมูล ทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมัน 6.สรุปผลกิจกรรมโครงการ .มีการเฝ้าระวังสถานการณ์ของการใช้น้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลทุ่งหว้า ประชาชน แกนนำ ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงภัยร้ายของน้ำมันทอดซ้ำ ว่าอาหารทอดที่มีหน้าตาน่ารับประทาน นอกจากจะมีอันตรายจากความมัน จะทำให้เกิดโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันลิตสูง ยังมีภัยที่เกิดจากน้ำมันที่ใช้ทอดซ้ำมีความเสี่ยงที่ร่างกายจะได้รับสารก่อมะเร็ง รวมไปถึงสารที่จะทำให้เกิดโรคหัวใจอีกด้วย นอกจากนี้ ผู้ที่ปรุงอาหารด้วยน้ำมันทอดซ้ำ จะมีความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งปอด เนื่องจากสูดดมควันที่เกิดขึ้นจากการปรุงด้วยน้ำมันทอดซ้ำเข้าไป ผู้เข้าร่วมรู้จักการเลือกใช้น้ำมันและวิธีสังเกตน้ำมันที่ทอดซ้ำได้ อีกทั้งยังรู้ถึงการใช้ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ กำหนดให้มีสารโพลาร์ได้ไม่เกินร้อยละ 25 ประโยชน์ของการใช้ชุดทดสอบ คือ ผู้ที่ทอดอาหารเพื่อจำหน่าย จะได้ทราบว่าเมื่อใดถึงควรจะเปลี่ยนน้ำมันที่ใช้ปรุงอาหารและจะได้เปลี่ยนน้ำมันตามช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงและอันตรายที่จะเกิดขึ้นผู้ปรุงอาหารและต่อผู้บริโภค มีความถูกต้อง แม่นยำ ใช้งานง่ายและมีราคาประหยัด สามารถตรวจดูคุณภาพของน้ำมันได้ทันที..ทุกคนมีความตระหนัก สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน ประชาชนผู้บริโภคอาหารทอดได้รับความปลอดภัย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน จังหวัด

รหัสโครงการ 2566 - L8009 - 02 - 008

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคอำเภอทุ่งหว้า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด