กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการค้นหาผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวานรายใหม่ รพ.สต.บ้านในเมือง ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรทัย อุสมา

ชื่อโครงการ โครงการค้นหาผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวานรายใหม่ รพ.สต.บ้านในเมือง ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5313-01002 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2566 ถึง 29 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค้นหาผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวานรายใหม่ รพ.สต.บ้านในเมือง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค้นหาผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวานรายใหม่ รพ.สต.บ้านในเมือง ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค้นหาผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวานรายใหม่ รพ.สต.บ้านในเมือง ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5313-01002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2566 - 29 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เร่งด่วนของประชาชนที่ต้องได้รับการเฝ้าระวัง นอกจากอุบัติเหตุและโรคติดต่อแล้ว กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังก็เป็นสาเหตุสำคัญของการตายและความพิการ ทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนลดลงและก่อให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรเป็นจำนวนมากในแต่ละปี ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเส้นเลือดในสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคเบาหวาน และโรคมะเร็ง เป็นต้น การค้นหา และการตรวจสุขภาพของประชาชนตามกลุ่มอายุตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยสูงอายุเป็นภารกิจในการดำเนินงานสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ที่มุ่งเน้นให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี สามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพมากขึ้น โดยเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ โดยถือว่า สุขภาพเป็นเรื่องของประชาชนทุกคน สำหรับการตรวจสุขภาพในกลุ่มอายุต่างๆ ได้แก่ วัยทำงาน วัยทอง และวัยสูงอายุ เป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมเป็นส่วนใหญ่ อาทิ เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการทำงาน พฤติกรรมการสูบบุหรี่ การบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ รวมถึงภาวะเครียด                      ข้อมูลการขึ้นทะเบียนรายใหม่ผู้ป่วยเบาหวาน 6 ปีย้อนหลัง ปี 2560 จำนวน 33 ราย ปี 2561 จำนวน 37 ราย ปี 2562 จำนวน 47 ราย ปี 2563 จำนวน 28 ราย ปี 2564 จำนวน 22 ราย ปี 2565 จำนวน 35  ราย                     ข้อมูลการขึ้นทะเบียนรายใหม่ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 6 ปีย้อนหลัง ปี 2560 จำนวน 135 ราย ปี2561 จำนวน 122 ราย ปี 2562 จำนวน 109 รายปี2563 จำนวน 101 ราย ปี 2564 จำนวน 82 ราย ปี 2565 จำนวน 75 ราย                     จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านในเมืองทั้งหมด ความดันโลหิตสูง 775 คน เบาหวาน 343 คน รับยารพ.สต.บ้านในเมือง ทั้งหมด 317 คน จำนวนผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง จำนวน 33 ราย เสียชีวิต 3 รายเป็นผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 5 ราย (ปีงบประมาณ 2566)
       โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ควบคุม ส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสภาพจากการป่วยในระดับตำบล จึงได้การนำนโยบายด้านสุขภาพสู่การปฏิบัติ เพื่อประโยชน์สูงสุดด้านสุขภาพแก่ประชาชนในเขตความรับผิดชอบ และได้เห็นความสำคัญถึงการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จึงได้จัดทำ “โครงการค้นหาผู้ป่วยโรคความดัน โรคเบาหวานรายใหม่ รพ.สต.บ้านในเมือง ปีงบประมาณ 2566” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำเฝ้าระวังภัยสุขภาพในชุมชน คัดกรองสุขภาพประชาชน และการสร้างทางเลือกในการดูแลสุขภาพ โดยได้มีการคัดกรองและตรวจสุขภาพประชาชนตั้งแต่ อายุ 35 ปีขึ้นไป 4ซึ่งประกอบด้วย วัยทำงาน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เป็นการลดอุบัติการณ์การเกิดโรครายใหม่ สร้างทีมงานเพื่อเฝ้าระวังการเกิดโรค และให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวอย่างถูกต้อง ที่จะส่งผลต่อการลดอุบัติการณ์เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ในอนาคต ทำให้ประชาชนเกิดความตระหนักรู้สู่การปฏิบัติในการดูแลสุขภาพประชาชนอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เครือข่ายในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชน
  2. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเบาหวาน โรคความดัน และจัดระบบเข้าถึงการรักษา
  3. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานเครือข่ายในชุมชนและถอดบทเรียนเรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หมู่ละ 10 คน จำนวน 6 หมู่บ้าน
  2. อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ด้านการจัดการสุขภาพผู้ป่วยโรคความดัน โรคเบาหวาน
  3. ประเมินภาวะสุขภาพ (ระดับความดัน ระดับน้ำตาล ดัชนีมวลกายและอื่นๆ และการวางแผนสุขภาพเฉพาะราย) กลุ่มเสี่ยงในชุมชน 6 หมู่บ้าน
  4. อบรม/ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย/ผู้สนใจ
  5. ติดตามและสรุปผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงหลังได้รับการอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เครือข่ายในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน
  2. อสม.มีองค์ความรู้ในการจัดการสุขภาพโรคความดัน โรคเบาหวานแก่ประชาชน
  3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบเข้าถึงบริการสุขภาพส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
  4. ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักรู้และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการดูและจัดการสุขภาพตนเองและครอบครัว

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานเครือข่ายในชุมชนและถอดบทเรียนเรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หมู่ละ 10 คน จำนวน 6 หมู่บ้าน

วันที่ 25 สิงหาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเครือข่ายในชุมชนและถอดบทเรียนเรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หมู่ละ 10 คน จำนวน 6 หมู่บ้าน กลุ่มเป้าหมาย : แกนนำภาคีเครือข่ายในชุมชนตัวแทนด้านสุขภาพ วิทยากร : พยาบาลวิชาชีพ คลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง /ทีมสหวิชาชีพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการแต่งตั้งคณะทำงานเครือข่ายการทำงานในชุมชนเพื่อขับเคลื่อนการดูแลด้านสุขภาพทุกหมู่บ้าน

 

60 0

2. ประเมินภาวะสุขภาพ (ระดับความดัน ระดับน้ำตาล ดัชนีมวลกายและอื่นๆ และการวางแผนสุขภาพเฉพาะราย) กลุ่มเสี่ยงในชุมชน 6 หมู่บ้าน

วันที่ 18 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินภาวะสุขภาพ (ระดับความดัน ระดับน้ำตาล ดัชนีมวลกายและอื่นๆ และการวางแผนสุขภาพเฉพาะราย) กลุ่มเสี่ยงในชุมชน 6 หมู่บ้าน หมู่ละ 200 คน กลุ่มเป้าหมาย : ประชาชนกลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ค้นหากลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเบาหวาน โรคความดัน และจัดระบบเข้าถึงการรักษา -กลุ่มเสี่ยงจากการตรวจหาค่าระดับน้ำตาล/ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 จากเป้าหมายคัดกรอง และได้รับการติดตามให้คำปรึกษา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 80   

 

200 0

3. อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ด้านการจัดการสุขภาพผู้ป่วยโรคความดัน โรคเบาหวาน

วันที่ 19 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ด้านการจัดการสุขภาพผู้ป่วยโรคความดัน โรคเบาหวาน กลุ่มเป้าหมาย : อสม.ในเขตรับผิดชอบวิทยากร : พยาบาลวิชาชีพ คลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง /ทีมสหวิชาชีพ วิทยากร :พยาบาลวิชาชีพ คลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและทีมสหวิชาชีพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม.มีความรุ้เรื่องการตรวจคัดกรองและแปรผล

 

102 0

4. อบรม/ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย/ผู้สนใจ

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค้นหากลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเบาหวาน โรคความดัน และจัดระบบเข้าถึงการรักษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงมีค่าความดัน ระดับน้ำตาล DTX และดัชนีมวลมีแเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเบาหวาน โรคความดัน และจัดระบบเข้าถึงการรักษา นวโน้มดีขึ้น ร้อยละ 50

 

80 0

5. ติดตามและสรุปผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงหลังได้รับการอบรม

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามและสรุปผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงหลังได้รับการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-กลุ่มเสี่ยงมีค่าความดัน ระดับน้ำตาล DTX และดัชนีมวลมีแเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเบาหวาน โรคความดัน และจัดระบบเข้าถึงการรักษา นวโน้มดีขึ้น ร้อยละ 50 -กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เครือข่ายในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชน
ตัวชี้วัด : มีการแต่งตั้งคณะทำงานเครือข่ายการทำงานในชุมชนเพื่อขับเคลื่อนการดูแลด้านสุขภาพทุกหมู่บ้าน
1.00 1.00

มีคณะทำงานเครือขาสยเพื่อขับเคลื่อนด้านสุขภาพทุกหมู่บ้าน

2 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเบาหวาน โรคความดัน และจัดระบบเข้าถึงการรักษา
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงจากการตรวจหาค่าระดับน้ำตาล/ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 จากเป้าหมายคัดกรอง และได้รับการติดตามให้คำปรึกษา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 80   
1200.00 80.00

พบกลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเบาหวานจำนวน 80 รายจากการคัดกรองทั้งหมด 200 ราย

3 เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีค่าความดัน ระดับน้ำตาล DTX และดัชนีมวลมี แนวโน้มดีขึ้น ร้อยละ 50
50.00 32.50

กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ น้ำหนักลดลง จำนวน13 ราย คิดเป็นร้อยละ 32.50 ผจากกลุ่มเป้าหมาย 40 คนที่มีค่าbmiเกินเกณฑ์ กลุ่มเสี่ยงที่มีระดับน้ำตาลสะสมในเลือดHbA1Cมากกว่า 7 จำนวน 40 คน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ 17 รายคิดเป็นร้อยละ 42.50 ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ 23 รายคิดเป็นร้อยละ 57.5

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เครือข่ายในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชน (2) เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเบาหวาน โรคความดัน และจัดระบบเข้าถึงการรักษา (3) เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเครือข่ายในชุมชนและถอดบทเรียนเรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หมู่ละ 10 คน จำนวน 6 หมู่บ้าน (2) อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ด้านการจัดการสุขภาพผู้ป่วยโรคความดัน โรคเบาหวาน (3) ประเมินภาวะสุขภาพ (ระดับความดัน ระดับน้ำตาล ดัชนีมวลกายและอื่นๆ และการวางแผนสุขภาพเฉพาะราย) กลุ่มเสี่ยงในชุมชน 6 หมู่บ้าน (4) อบรม/ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย/ผู้สนใจ (5) ติดตามและสรุปผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงหลังได้รับการอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการค้นหาผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวานรายใหม่ รพ.สต.บ้านในเมือง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5313-01002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอรทัย อุสมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด