กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย


“ โครงการรณรงค์จัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร ”

ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
1. นางรอกีย๊ะ ยูฮันนัน 2. นายสุกกี สามัญ 3. นายสุไลหมาน ตะวัน 4. นางสาวธารทิพย์ มะแอเคียน 5. นางสาวณัฐชุดา บุญเหม

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์จัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5281-2-19 เลขที่ข้อตกลง 32

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 สิงหาคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์จัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์จัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์จัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5281-2-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 สิงหาคม 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 132,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคในระบบทางเดินอาหาร เป็นโรคที่พบได้บ่อยมากในคนทั่วไป แม้ว่าอาการอาจจะไม่รุนแรง แต่กลับเป็นปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวัน ซึ่งหากพูดถึงระบบทางเดินอาหารแล้ว เราจะนับตั้งแต่เราทานอาหารเข้าไป คือ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ ทวารหนัก หรืออวัยวะที่ช่วยผลิตน้ำย่อยอย่างเช่น ตับ ถุงน้ำดี เหล่านี้ล้วนเป็นส่วนหนึ่งของระบบทางเดินอาหาร ดังนั้นหากอวัยวะใดอวัยวะหนึ่งเกิดความผิดปกติ ระบบทางเดินอาหารก็จะเริ่มแสดงออกถึงอาการต่าง ๆ เช่น การติดเชื้อ โรคจากพยาธิต่างๆ โรคท้องร่วง เชื้ออหิวาตกโรค ไทฟอยด์ และโรคบิด นอกจากนี้ยังอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคมะเร็ง เช่น มะเร็งลำไส้ มะเร็งตับ มะเร็งหลอดอาหาร เป็นต้น
การจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนให้ถูกสุขลักษณะ เป็นวิธีหนึ่งที่สามารถป้องกันโรค ในระบบทางเดินอาหารได้ เนื่องจากขยะอินทรีย์เป็นขยะที่มีทั้งความชื้นและสารอินทรีย์ที่จุลินทรีย์ใช้เป็นอาหาร ซึ่งเป็นบ่อเกิดของเชื้อโรคต่างๆ หากกำจัดไม่ถูกวิธี อาจมีกลิ่นเหม็นก่อให้เกิดความรำคาญ ทำลายสุนทรียภาพด้านสิ่งแวดล้อม เกิดสภาพไม่น่าดู สกปรก น่ารังเกียจ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงวัน หนู ยุง และแมลงสาบ ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อ โดยเชื้อโรคเหล่านี้เข้าสู่ร่างกายคนเรา จากการกินอาหารและน้ำ หรือการจับต้องด้วยมือ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของคนเราได้โดยง่าย สำนักระบาดวิทยา รายงานตั้งแต่ต้นปี 2562 พบผู้ป่วยโรคระบบทางเดินอาหาร 6 โรคสำคัญ ได้แก่ โรคอุจจาระร่วง 575,112 ราย โรคอาหารเป็นพิษ 59,360 ราย โรคบิด 432 ราย อหิวาตกโรค 9 ราย ไข้ไทฟอยด์หรือไข้รากสาดน้อย
560 ราย ไวรัสตับอักเสบเอ 224 ราย ส่วนในพื้นที่ตำบลทุ่งนุ้ยพบผู้ป่วยโรคระบบทางเดินอาหาร
จำนวน 162 ราย (แบบรง.504 ประจำเดือนมิถุนายน 2566 ของรพ.สต.ทุ่งนุ้ย และรพ.สต.บ้านควนบ่อทอง) จากปัญหาดังกล่าว กลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกตำบลทุ่งนุ้ย เห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์จัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหารขึ้น เพื่อสร้างความตระหนักให้กับประชาชนในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน และส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะอินทรีย์โดยมีแกนนำอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก เป็นต้นแบบและนำร่องในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน ส่งผลให้ตำบลทุ่งนุ้ยสามารถป้องกันและลดผู้ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหาร

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก รณรงค์สร้างความตระหนักให้กับประชาชนในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร
  2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะอินทรีย์โดยมีแกนนำอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก เป็นต้นแบบและนำร่องในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร
  3. เพื่อให้ตำบลทุ่งนุ้ยมีผู้ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหารลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 1 บ้านควนบ่อทอง จำนวน 30 คน
  2. 2. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งนุ้ย จำนวน 30 คน
  3. 3. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 3 บ้านหัวกาหมิง จำนวน 30 คน
  4. หมู่ที่ 4 บ้านน้ำร้อน
  5. 5. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 5 บ้านโตนปาหนัน จำนวน 30 คน
  6. 6. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 6 บ้านน้ำหรา จำนวน 30 คน
  7. 7. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 7 บ้านเกาะใหญ่ จำนวน 30 คน
  8. 8. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 8 บ้านค่ายรวมมิตร จำนวน 30 คน
  9. 9. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 9 บ้านทุ่งพัก จำนวน 30 คน
  10. 10. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 10 บ้านควนเรือ จำนวน 30 คน
  11. 11. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 11 บ้านสวน จำนวน 30 คน
  12. 12. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่12 บ้านโคกโดน จำนวน 30 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

10.1 ประชาชนมีความตระหนักในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร   10.2 ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร โดยมีแกนนำอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ในการนำร่องและเป็นต้นแบบในการจัดการขยะอินทรีย์   10.3 ตำบลทุ่งนุ้ยมีผู้ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหารลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก รณรงค์สร้างความตระหนักให้กับประชาชนในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความตระหนักในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร

 

2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะอินทรีย์โดยมีแกนนำอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก เป็นต้นแบบและนำร่องในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร โดยมีแกนนำอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ในการนำร่องและเป็นต้นแบบในการจัดการขยะอินทรีย์

 

3 เพื่อให้ตำบลทุ่งนุ้ยมีผู้ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหารลดลง
ตัวชี้วัด : ตำบลทุ่งนุ้ยมีผู้ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหารลดลง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก รณรงค์สร้างความตระหนักให้กับประชาชนในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร (2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะอินทรีย์โดยมีแกนนำอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก เป็นต้นแบบและนำร่องในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร (3) เพื่อให้ตำบลทุ่งนุ้ยมีผู้ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหารลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 1 บ้านควนบ่อทอง จำนวน 30 คน (2) 2. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งนุ้ย จำนวน 30 คน (3) 3. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 3 บ้านหัวกาหมิง จำนวน 30 คน (4) หมู่ที่ 4 บ้านน้ำร้อน (5) 5. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 5 บ้านโตนปาหนัน จำนวน 30 คน (6) 6. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 6 บ้านน้ำหรา จำนวน 30 คน (7) 7. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 7 บ้านเกาะใหญ่ จำนวน 30 คน (8) 8. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 8 บ้านค่ายรวมมิตร จำนวน 30 คน (9) 9. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 9 บ้านทุ่งพัก จำนวน 30 คน (10) 10. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 10 บ้านควนเรือ จำนวน 30 คน (11) 11. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 11 บ้านสวน จำนวน 30 คน (12) 12. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่12 บ้านโคกโดน จำนวน 30 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์จัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5281-2-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1. นางรอกีย๊ะ ยูฮันนัน 2. นายสุกกี สามัญ 3. นายสุไลหมาน ตะวัน 4. นางสาวธารทิพย์ มะแอเคียน 5. นางสาวณัฐชุดา บุญเหม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด