กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการสมุนไพรรักษ์โลกเพื่อสุขภาพ ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางจุไรลี่ สาและ

ชื่อโครงการ โครงการสมุนไพรรักษ์โลกเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-02-20 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ถึง 29 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสมุนไพรรักษ์โลกเพื่อสุขภาพ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสมุนไพรรักษ์โลกเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสมุนไพรรักษ์โลกเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2566-L7161-02-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2566 - 29 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,560.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานับพันปีแต่เมื่อการแผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาทในบ้านเราสรรพคุณและคุณค่าของสมุนไพรไทยอันเป็นสิ่งที่เรียกได้ว่า ภูมิปัญญาโบราณก็เริ่มถูกบดบังไปเรื่อย ๆ และถูกทอดทิ้งไปในที่สุดซึ่งความเป็นจริงคนส่วนใหญ่ก็พอรู้กันว่า สมุนไพรไทยเป็นสิ่งที่มีคุณค่าใช้ประโยชน์ได้จริง และใช้ได้อย่างกว้างขวางแต่เป็นเพราะเราใช้วิธีรักษาโรคแผนใหม่มานานมากจนวิชาการแพทย์แผนโบราณที่มีสมุนไพรเป็นยาหลักถูกลืมจนต่อไม่ติด ทำให้เยาวชนรุ่นหลัง ๆ รู้จักสมุนไพรไทยได้น้อยมากและแทบจะไม่รู้จักเลยทั้ง ๆ ที่สมุนไพรเหล่านั้นอยู่ใกล้ ๆ ตัวเราเอง โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านกาแป๊ะกอตอ) เห็นความสำคัญของการสืบสานภูมิปัญญาไทยไม่ให้สูญหาย และเพื่อให้นักเรียน มีการส่งเสริมการนำสมุนไพรและใช้สมุนไพรในพื้นที่บริเวณรอบตัว นำมาทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพ เช่น การทำยาหม่องการทำน้ำมันไพล การทำลูกประคบ การทำสมุนไพรอบตัวเพื่อสุขภาพ บำบัดโรค บำรุงร่างกาย บำรุงโลหิต บำรุงประสาท สมุนไพรแต่ละชนิด มีคุณค่าและสรรพคุณในตัวเอง แตกต่างกันไป เพื่อลดความเสี่ยงและป้องกันการเกิดโรคต่างๆ เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองได้

สถานการณ์การใช้บริการการแพทย์แผนไทยปี พ.ศ.2552, 2554 และ 2556 โดย รัชนี จันทร์เกษและคณะ เผยแพร่ในวารสารวิจัยระบบสาธารณสุขฉบับเมษายน-มิถุนายน 2559 ประชากรไทยที่เจ็บป่วยส่วนใหญ่เลือกไปรักษาที่สถานพยาบาลภาครัฐ การไปหาหมอพื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ หรือหมอนวดไทยมีค่อนข้างน้อย ไม่ถึงร้อยละ 2 ของประชากรที่เจ็บป่วย การรักษา ด้วยยาสมุนไพรในภาพรวมมีแนวโน้มลดลง โดยพบว่ากลุ่มอายุ 25-59 ปีที่เจ็บป่วยมีการใช้ยาแผนโบราณ หรือยาสมุนไพรระหว่างร้อยละ 51.0-60.3 ของประชากรที่เจ็บป่วยทั้งหมดที่น่าสนใจคือโรคปวดหลังและปวดกล้ามเนื้อต่างๆ เป็นกลุ่มอาการที่พบมากเป็นอันดับสอง แต่กลับมีการใช้ยาแผนโบราณหรือสมุนไพรเป็นอันดับหนึ่ง คิดเป็นร้อยละ 27.3 33.4 และ 31.1 ของประชากรที่ใช้ยาแผนโบราณหรือสมุนไพรในปี พ.ศ.2552, 2554 และ 2556 ตามลำดับ ดังนั้น โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านกาแป๊ะกอตอ) จึงได้เสนอโครงการแปรรูปสมุนไพรไทย เพื่อสุขภาพขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงและป้องกันการเกิดโรคต่างๆ เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรที่แปรรูปขึ้นมา เช่น น้ำมันไพล ยาหม่อง ลูกประคบ สมุนไพรรอบตัว น้ำสมุนไพรไทย ป้องกันรักษาโรคตามสรรพคุณของสมุนไพร เป็นการให้ความรู้ ความเข้าใจถึงคุณค่าพร้อมสรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิดในการป้องกันรักษาโรค เพื่อสู้ภัยโรค ลดการใช้สารเคมีในการปลูกพืชในโรงเรียน ครัวเรือน ดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างปกติสุข และยังเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชน ทั้งในกลุ่มเด็กวัยเรียน เยาวชน รวมถึงวัยทำงาน หันมาใช้พืชสมุนไพรที่มีอยู่รอบๆบ้านหรือในชุมชนในการดูแลสุขภาพมากขึ้น
ทั้งนี้ขอรับรองว่าโครงการนี้ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น มีความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน และเทศบาลเมืองเบตงได้รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติมแล้ว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. ส่งเสริมให้คณะครูบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียนมีความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสมุนไพรที่ใช้นำมาแปรรูปสมุนไพรใช้บำบัดรักษาโรคและการดูแลสุขภาพ
  2. 2. เพื่อคณะครูบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ลดความเสี่ยงในการใช้สารเคมี จากยาแผนปัจจุบัน นำมาแปรรูปผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในการรักษาพยาบาลระดับเบื้องต้น
  3. 3. ส่งเสริมให้คณะครูบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ดูแลรักษาสุขภาพของตนเองได้โดยนำสมุนไพรรอบตัวได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการทำสมุนไพรใกล้ตัวรักษาสุขภาพและป่วยยามฉุกเฉิน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้ ความเข้าใจในสรรพคุณในการรักษา ป้องกัน โรคต่างๆเบื้องต้น สามารถแปรรูปสมุนไพรรอบตัว รอบรั้ว รอบโรงเรียน
  2. ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ลดความเสี่ยงในการใช้สารเคมีเพื่อให้พืชผักสมุนไพรไว้รับประทานและนำมาแปรรูปผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในการรักษาพยาบาลระดับเบื้องต้น
  3. ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ดูแลรักษาสุขภาพของตนเองโดยใช้พืชผักสมุนไพรได้ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการทำสมุนไพรใกล้ตัวรักษาสุขภาพและป่วยยามฉุกเฉิน

วันที่ 28 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นตอนเตรียมการ     1. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ     2. ดำเนินวางแผน ดังต่อไปนี้         - ประชุมคณะครู นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน เพื่อรับข้อมูลข่าวสาร การดูแลรักษา การป้องกันต่างๆ โดยใช้พืชผักสมุนไพรที่มีอยู่รอบๆรั้วบ้าน/โรงเรียนิเช่น หัวไพล ตะไคร้ มะกรูด มะนาว ฯลฯ         - ดำเนินการสำรวจพืชผักสมุนไพริบ้านนักเรียน รอบรั้วโรงเรียน โดยให้นักเรียนนำมาจากบ้าน เพื่อนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการแปรรูปสมุนไพร สรรพคุณในการรักษาโรคเบื้องต้น หรือแบบฉุกเฉิน
  2. ขั้นดำเนินงาน   2.1 กิจกรรมอบรมบรรยายให้ความรู้สมุนไพรไทย       - ดำเนินการอบรมให้ความรู้การแปรรูปสมุนไพรที่ได้จาก ผู้ปกครอง นักเรียน โรงเรียน เพื่อนำมาใช้รักษาและป้องกันโรคได้ เพื่อให้เกิดเป็นที่รุ้จัดสรรพคุณสมุนไพร ตระหนักถึงคุณค่าของสมุนไพรที่ควรหวงแหนจากบรรพบุรุษสู้ต่อรุ่ร   2.2 กิจกรรมอบรมเชิญปฏิบัติการสมุนไพรเพื่อรักษาสุขภาพ และป่วยยาฉุกเฉิน       - ดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการฐานกิจกรรม ดดยแบ่งออกเป็น 4 ฐาน ได้แก่ ฐานยาหม่อง,บานน้ำมันหัวไหล,ฐานลูกประคบ และ ฐาอาหารประกอบสมุนไพร เช่น ข้าวยำ
  3. ขั้นประเมินผล     3.1 จากการทำแบบทดสอบก่อน-หลังการอบรม     3.2 จากการถาม-ตอบ ระหว่างการอบรม     3.3 จากแบบสรุปแผนผังความคิดจากการหาความเสี่ยงและขัดความเสี่ยงจากการทำงาน     3.4 จากสังเกตการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม     3.5 จากการผลการเข้าร่วมกิจกรรมและสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง     3.6 จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมุนไพรในปัจจุบันมีทั้งรูปแบบของยาและผลิดภัณฑ์อาหารเสริม และสามารถนำมาใช้ได้หลากรูปแบบไม่ได้จำกัดเพียงการใช้ในรูปแบบของยาเท่านั้น อาจใช้เป็นอาหาร เครื่องดื่มที่สามารถทำเองได้ การปลูกหรือมีสมุนไพรคู่บ้าน ติดบ้านเอาไว้มีประโยชน์มากมาย สมุนไพรประจำบ้าน ริมรั้ว ดูแลสุขภาพป้องกันโรค ภายในชุมชน หรือรั้วริมโรงเรียน ริมรั้วบ้าน สามารถปลูกไว้ในกระถานเล็ก ไว้เมื่อต้องการหยิบใช้ นำมาประกอบอาหาร หรือใช้ป้องกันแมลง ให้กลิ่นที่สดชื่นก็สามารถเลือกสรรปลูกไว้ได้ เช่น กะเพาะแดง/เขียว มะกรูด มะระขึ้นก ชะพลู สะระแหน่ ว่างแหน่ ว่างหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร บัวบก ตะไตร้ ขิงถ่วพู โหระ ตำลึง ใบเตย บ้านของนักเรียนดรงเรียนเทศบาล2 (บ้านกาแป็ะกอตอ) ในแต่ละบ้านมีสมุนไพรพื้นบ้านกันทุกบ้าน นักเรียนนำสมุนไพร มาในวันที่สองของการอบรม วันนี้ นักเรียนได้ สำรวจสมุนไพรรอบรั้วบ้านและโรงเรียน ผู้เข้าร่วมอบรมได้ความรุ้ เรื่องสมุนไพร พร้อมสรรมคุณ และโทษ วิธีการเลือกใช้สมุนไพรที่ถูกต้องที่มาจากธรรมชาติ ไร้สาพิา ลดความเสี่ยงในการใช้ยาแผนปัจจุบัน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. ส่งเสริมให้คณะครูบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียนมีความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสมุนไพรที่ใช้นำมาแปรรูปสมุนไพรใช้บำบัดรักษาโรคและการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. คณะครูบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียนมีความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสมุนไพรที่ใช้นำมาแปรรูปสมุนไพรใช้บำบัดรักษาโรคและการดูแลสุขภาพ
0.00

 

2 2. เพื่อคณะครูบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ลดความเสี่ยงในการใช้สารเคมี จากยาแผนปัจจุบัน นำมาแปรรูปผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในการรักษาพยาบาลระดับเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : 2. คณะครูบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ลดความเสี่ยงในการใช้สารเคมี จากยาแผนปัจจุบัน นำมาแปรรูปผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในการรักษาพยาบาลระดับเบื้องต้น
0.00

 

3 3. ส่งเสริมให้คณะครูบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ดูแลรักษาสุขภาพของตนเองได้โดยนำสมุนไพรรอบตัวได้
ตัวชี้วัด : 3. คณะครูบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ดูแลรักษาสุขภาพของตนเองได้โดยนำสมุนไพรรอบตัว
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ส่งเสริมให้คณะครูบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียนมีความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสมุนไพรที่ใช้นำมาแปรรูปสมุนไพรใช้บำบัดรักษาโรคและการดูแลสุขภาพ (2) 2. เพื่อคณะครูบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ลดความเสี่ยงในการใช้สารเคมี    จากยาแผนปัจจุบัน นำมาแปรรูปผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในการรักษาพยาบาลระดับเบื้องต้น (3) 3. ส่งเสริมให้คณะครูบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ดูแลรักษาสุขภาพของตนเองได้โดยนำสมุนไพรรอบตัวได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการทำสมุนไพรใกล้ตัวรักษาสุขภาพและป่วยยามฉุกเฉิน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสมุนไพรรักษ์โลกเพื่อสุขภาพ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-02-20

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจุไรลี่ สาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด