กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง


“ โครงการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ”

โรงพยาบาลกรงปินัง

หัวหน้าโครงการ
นายอิรฟาน หะยีอิแต

ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

ที่อยู่ โรงพยาบาลกรงปินัง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4113-01-07 เลขที่ข้อตกลง 07/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลกรงปินัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลกรงปินัง รหัสโครงการ 67-L4113-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,190.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สังคมปัจจุบัน ที่มีการเผชิญกับเหตุการณ์วิกฤตหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก การสูญเสียทรัพย์สิน การปรับตัวต่อปัญหา ปัญหาการใช้สารเสพติด ปัญหาการใช้ความรุนแรงในครอบครัว ซึ่งหากไม่ได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนและต่อเนื่อง มีโอกาสทำให้เกิดความชุกของปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวชตามมาได้เช่น โรคเครียดหลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญ (PTSD) โรคจิตเภทโรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล เป็นต้น ทั้งนี้ผู้ป่วยจิตเวชจัดเป็นผู้ป่วยเรื้อรังที่ต้องรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง และต้องอาศัยญาติผู้ดูแลเรื่องการรับประทานยาและการจัดการชีวิตประจำวันของผู้ป่วยทำให้ส่งผลกระทบต่อ การประกอบอาชีพ การขาดรายได้ และเกิดปัญหาทางด้านสุขภาพจิตของตนเองร่วมด้วย
อำเภอกรงปินังมีประชาชนเข้าถึงบริการทางด้านสุขภาพจิตและจิตเวช และได้รับการวินิจฉัยที่รวดเร็วและเพิ่มมากขึ้น จากสถิติผู้ป่วยมารับบริการโรงพยาบาลกรงปินังด้วยโรคทางจิตเวช ปี2566 พบว่า 2 อันดับโรคที่พบบ่อย ได้แก่ โรคจิตเภทและโรคซึมเศร้า ซึ่งจำนวนผู้ป่วยโรคจิตเภท ปี2566จำนวน 91 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้า 215ราย โดยพื้นที่ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา มีจำนวนผู้ป่วยจิตเภท18ราย หมู่ที่ 1 จำนวน11 ราย หมู่ที่ 2 จำนวน2ราย หมู่ที่ 3 จำนวน2 ราย หมู่ที่ 4 จำนวน 3 รายและผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ปี2566 จำนวน 135 รายโดยพื้นที่ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา มีจำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้า 37 ราย หมู่ที่ 1 จำนวน18 ราย หมู่ที่ 2 จำนวน6 ราย หมู่ที่ 3 จำนวน6 ราย หมู่ 4 จำนวน 7ราย(ข้อมูลจาก HOSxP) ซึ่งปัญหาที่พบบ่อย ได้แก่ ไม่มีผู้ดูแลหลัก ผู้ป่วยขาดนัด ไม่รับประทานยาต่อเนื่อง รวมทั้งญาติและผู้ดูแลขาดความรู้ในเรื่องโรคทางจิตเวช กาดูแลและทักษะการสื่อสารที่เหมาะสม ตลอดจนผู้ป่วยไม่ตระหนักรู้ถึงอาการป่วยของตนเอง ขาดทักษะการจัดการความเครียดที่เหมาะสมและการใช้ชีวิตอยู่ในสังคมร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างปกติ ทั้งนี้งานจิตเวชและยาเสพติด กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลกรงปินังได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว ของผู้ป่วยจิตเวชและเห็นถึงความสำคัญในการดูแลเชิงรุกในชุมชน การส่งเสริมสุขภาพจิตญาติผู้ดูแล การให้ความรู้ญาติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช และการติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของผู้ป่วยและลดภาระของญาติ ได้รับการยอมรับและสามารถอยู่ร่วมกันกับบุคคลอื่นในชุมชนได้ปกติ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังได้รับการดูแลติดตามในชุมชน
  2. เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระของญาติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจง แลกเปลี่ยนการดำเนินงานฝ่ายปกครองในพื้นที่และ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขอสม กับทีมจิตเวชและยาเสพติด โรงพยาบาลกรงปินัง
  2. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคทางจิตเวช สัญญาณเตือนการฆ่าตัวตาย และการดูแลสุขภาพจิตตนเองแก่ญาติและผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวช
  3. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังที่มีความเสี่ยงในชุมชน (ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ผู้ป่วยโรคจิตเภท(SMIV) และผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงฆ่าตัวตาย) จำนวน 10 คน จำนวน 2 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 65
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ญาติและผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวช 55
ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ผู้ป่วยจิตเภท 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยจิตเวชและญาติมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความรู้ มีทักษะในการใช้ชีวิต ได้รับการยอมรับและสามารถอยู่ร่วมกันกับบุคคลอื่นในชุมชนได้ปกติ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังได้รับการดูแลติดตามในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังได้รับการดูแลติดตามในชุมชน
55.00 30.00

 

2 เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระของญาติ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
55.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 65
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ญาติและผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวช 55
ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ผู้ป่วยจิตเภท 10

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังได้รับการดูแลติดตามในชุมชน (2) เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระของญาติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจง แลกเปลี่ยนการดำเนินงานฝ่ายปกครองในพื้นที่และ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขอสม กับทีมจิตเวชและยาเสพติด โรงพยาบาลกรงปินัง (2) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคทางจิตเวช สัญญาณเตือนการฆ่าตัวตาย และการดูแลสุขภาพจิตตนเองแก่ญาติและผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวช (3) ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังที่มีความเสี่ยงในชุมชน (ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ผู้ป่วยโรคจิตเภท(SMIV) และผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงฆ่าตัวตาย) จำนวน 10 คน จำนวน 2 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4113-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอิรฟาน หะยีอิแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด