ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสพเหตุทางน้ำ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสพเหตุทางน้ำ ”
จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายสมนึก อาดตันตรา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสพเหตุทางน้ำ
ที่อยู่ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 14/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสพเหตุทางน้ำ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสพเหตุทางน้ำ
บทคัดย่อ
โครงการ " ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสพเหตุทางน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,432.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อุบัติเหตุทางน้ำเกิดขึ้นได้เสมอและเป็นความเสี่ยงหากไม่มีทักษะในการว่ายน้ำหรือทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและรวมถึงทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ การสูญเสียที่ไม่ควรจะเสียลดลงได้หากมีการป้องกัน รายงานจากกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ในช่วง10 ปีที่ผ่านมา (2556-2565) ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำถึง 35,915 คน โดยในจำนวนนี้เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีมากถึงร้อยละ 20.5 (7,374 คน) โดยเด็กช่วงอายุ 5-9 ปี เป็นกลุ่มที่เสียชีวิตมากที่สุดที่ 2,867 คน และข้อมูลโดยเฉลี่ยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2551-2565)เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำในช่วงฤดูร้อน ซึ่งตรงกับช่วงปิดเทอม (เดือนมีนาคม – พฤษภาคม) จำนวน 953 เฉลี่ยวันละ 2 ราย อย่างไรก็ตาม การเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในปี 2565 มีจำนวนลดลง อยู่ที่ 658 คน ช่วงอายุที่เสียชีวิตมากที่สุด 5-9 ปี 250 คน คิดเป็นร้อยละ 33.3 รองลงมาคือช่วงอายุ 0-4 ปี 219 คน คิดเป็นร้อยละ 38.1 และ ช่วงอายุ 10-14 ปี จำนวน 189 คน คิดเป็นร้อยละ 28.6 ตามลำดับ และช่วงเดือน มี.ค. - พ.ค. เป็นช่วงที่เสียชีวิตมากที่สุดเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 32.7 ของการจมน้ำเสียชีวิตตลอดทั้งปี และในพื้นที่ตำบลแป-ระ ปี 2566 มีเด็ก เสียชีวิตจากการจมน้ำ 3 ราย จากข้อมูลดังกล่าวหากจะป้องกันการเสียชีวิตหรือลดอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก จำเป็นจะต้องฝึกทักษะให้เด็กในกลุ่มเสี่ยงได้เรียนรู้การเอาตัวรอดในน้ำ หรือ”ว่ายน้ำเป็นลอยตัวในน้ำได้โดยไม่ใช้อุปกรณ์และเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีช่วยชีวิตผู้อื่นจากการจมน้ำแบบวิธีช่วยเหลือตามมาตรฐานสากล โดยใช้อุปกรณ์ใกล้มือ โดยมีการเฝ้าระวังและฝึกอบรมการเอาตัวรอดของเด็กกลุ่มเสี่ยง อย่างไรก็ตาม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้จัดกิจกรรมโครงการฝึกอบรมเด็กและเยาวชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ มาแล้ว 4 ครั้ง มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ราม 214 คน ร้อยละ 95 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการสามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปปฏิบัติป้องกันตนเองและช่วยเหลือผู้อื่นได้ และจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้นและลดความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กในอนาคต
จากปัญหาดังกล่าว กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการฝึกอบรมเด็กและเยาวชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ ในปีงบประมาณ 2567 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อฝึกอบรมการเอาตัวรอดในน้ำให้แก่เด็กและเยาวชน
- เพื่อฝึกทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR.) ให้แก่เด็กและเยาวชน
- เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายของเด็กและเยาวชนในตำบลแป-ระ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน
- ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้การเอาตัวรอดในน้ำได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR.) ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน
วันที่ 2 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1 ประชุมวางแผนงาน
2 เขียนโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ
3 จัดกิจกรรมตามโครงการฝึกอบรมเด็กและเยาวชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ การช่วยเหลือคนตกน้ำวิธีตะโกน โยน ยื่น การลอยตัวในน้ำ การเคลื่อนไหวในน้ำด้วยท่าต่างๆ รวมถึงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR.)
4 สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแบบรายงาน ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ จัดกิจกรรมตามโครงการฝึกอบรมเด็กและเยาวชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ ณ หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ และสระว่ายน้ำโรงรียนอนุบาลท่าแพพัฒนา ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล โดยมีกลุ่มเป้าหมาย อายุระหว่าง 7 - 13 ปี เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน
ผลการดำเนินงาน โครงการฝึกอบรมเด็กและเยาวชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ จัดกิจกรรมตามแผนงาน วันที่ 2 – 3 มิถุนายน 2567 ณ หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษาองค์การบิหารส่วนตำบลแป-ระ และสระน้ำโรงเรียนอนุบาลท่าแพพัฒนา ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ได้รับความสนใจจากกลุ่มเป้าหมายจำนวนมาก มีเด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย อายุระหว่าง 7 – 13 ปี เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คน ซึ่งการประเมินความรู้และทักษะของผู้เข้าอบรมโดยทีมวิยากร จำแนกเป็น 2 ส่วน ดังนี้
1) การประเมินความรู้ในทักษะการเอาตัวรอดในน้ำของผู้เข้าอบรม โดยทีมวิทยากร ซึ่งเป็นการสังเกตจากภาคปฏิบัติ การลอยตัวในน้ำ และการเคลื่อนตัวไปในน้ำในท่าต่างๆ ผู้เข้าอบรมปฏิบัติได้ 48 คน ซึ่งประเมินได้ว่าผู้เข้าอบรมมีความรู้ในทักษะการเอาตัวรอดในน้ำได้ร้อยละ 96
2) การประเมินความรู้ด้านการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ การช่วยคนตกน้ำโดยวิธี ตะโกน โยน ยื่น ทั้งมีอุปกรณ์และไม่มีอุปกรณ์ และการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) ของผู้เข้ารับการอบรม โดยทีมวิทยากร เป็นการทดสอบจากภาคปฏิบัติ ผู้เข้าอบรมปฏิบัติได้ 50 คน คิดเป็นรอยละ 100
จากการประเมินของทีมวิทยากรโดยการสังเกต จะเห็นได้ว่าผู้เข้าร่วมอบรมสามารถเรียนรู้และฝึกทักษะได้อย่างรวดเร็วและนำความรู้ที่ได้รับไปฝึกฝนต่อยอดเพื่อใช้เอาตัวรอดจากการจมน้ำได้ในอนาคต
70
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อฝึกอบรมการเอาตัวรอดในน้ำให้แก่เด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้การเอาตัวรอดในน้ำได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ประเมินโดยการทดสอบจากภาคปฏิบัติ
0.00
2
เพื่อฝึกทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR.) ให้แก่เด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กและเยาวชนมีทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR.) ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ประเมินโดยการทดสอบจากภาคปฏิบัติ
0.00
3
เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายของเด็กและเยาวชนในตำบลแป-ระ
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กและเยาวชนในตำบลแป-ระ มีทักษะการออกกำลังกายโดยการว่ายน้ำ ร้อยละ 100 ประเมินจากภาคปฏิบัติ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
50
กลุ่มวัยทำงาน
20
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฝึกอบรมการเอาตัวรอดในน้ำให้แก่เด็กและเยาวชน (2) เพื่อฝึกทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR.) ให้แก่เด็กและเยาวชน (3) เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายของเด็กและเยาวชนในตำบลแป-ระ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน (2) ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสพเหตุทางน้ำ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมนึก อาดตันตรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสพเหตุทางน้ำ ”
จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายสมนึก อาดตันตรา
กันยายน 2567
ที่อยู่ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 14/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสพเหตุทางน้ำ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสพเหตุทางน้ำ
บทคัดย่อ
โครงการ " ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสพเหตุทางน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,432.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อุบัติเหตุทางน้ำเกิดขึ้นได้เสมอและเป็นความเสี่ยงหากไม่มีทักษะในการว่ายน้ำหรือทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและรวมถึงทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ การสูญเสียที่ไม่ควรจะเสียลดลงได้หากมีการป้องกัน รายงานจากกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ในช่วง10 ปีที่ผ่านมา (2556-2565) ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำถึง 35,915 คน โดยในจำนวนนี้เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีมากถึงร้อยละ 20.5 (7,374 คน) โดยเด็กช่วงอายุ 5-9 ปี เป็นกลุ่มที่เสียชีวิตมากที่สุดที่ 2,867 คน และข้อมูลโดยเฉลี่ยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2551-2565)เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำในช่วงฤดูร้อน ซึ่งตรงกับช่วงปิดเทอม (เดือนมีนาคม – พฤษภาคม) จำนวน 953 เฉลี่ยวันละ 2 ราย อย่างไรก็ตาม การเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในปี 2565 มีจำนวนลดลง อยู่ที่ 658 คน ช่วงอายุที่เสียชีวิตมากที่สุด 5-9 ปี 250 คน คิดเป็นร้อยละ 33.3 รองลงมาคือช่วงอายุ 0-4 ปี 219 คน คิดเป็นร้อยละ 38.1 และ ช่วงอายุ 10-14 ปี จำนวน 189 คน คิดเป็นร้อยละ 28.6 ตามลำดับ และช่วงเดือน มี.ค. - พ.ค. เป็นช่วงที่เสียชีวิตมากที่สุดเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 32.7 ของการจมน้ำเสียชีวิตตลอดทั้งปี และในพื้นที่ตำบลแป-ระ ปี 2566 มีเด็ก เสียชีวิตจากการจมน้ำ 3 ราย จากข้อมูลดังกล่าวหากจะป้องกันการเสียชีวิตหรือลดอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก จำเป็นจะต้องฝึกทักษะให้เด็กในกลุ่มเสี่ยงได้เรียนรู้การเอาตัวรอดในน้ำ หรือ”ว่ายน้ำเป็นลอยตัวในน้ำได้โดยไม่ใช้อุปกรณ์และเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีช่วยชีวิตผู้อื่นจากการจมน้ำแบบวิธีช่วยเหลือตามมาตรฐานสากล โดยใช้อุปกรณ์ใกล้มือ โดยมีการเฝ้าระวังและฝึกอบรมการเอาตัวรอดของเด็กกลุ่มเสี่ยง อย่างไรก็ตาม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้จัดกิจกรรมโครงการฝึกอบรมเด็กและเยาวชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ มาแล้ว 4 ครั้ง มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ราม 214 คน ร้อยละ 95 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการสามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปปฏิบัติป้องกันตนเองและช่วยเหลือผู้อื่นได้ และจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้นและลดความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กในอนาคต จากปัญหาดังกล่าว กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการฝึกอบรมเด็กและเยาวชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ ในปีงบประมาณ 2567 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อฝึกอบรมการเอาตัวรอดในน้ำให้แก่เด็กและเยาวชน
- เพื่อฝึกทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR.) ให้แก่เด็กและเยาวชน
- เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายของเด็กและเยาวชนในตำบลแป-ระ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน
- ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้การเอาตัวรอดในน้ำได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2 เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR.) ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน |
||
วันที่ 2 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ1 ประชุมวางแผนงาน 2 เขียนโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ 3 จัดกิจกรรมตามโครงการฝึกอบรมเด็กและเยาวชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ การช่วยเหลือคนตกน้ำวิธีตะโกน โยน ยื่น การลอยตัวในน้ำ การเคลื่อนไหวในน้ำด้วยท่าต่างๆ รวมถึงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR.) 4 สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแบบรายงาน ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ จัดกิจกรรมตามโครงการฝึกอบรมเด็กและเยาวชนทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ ณ หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ และสระว่ายน้ำโรงรียนอนุบาลท่าแพพัฒนา ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล โดยมีกลุ่มเป้าหมาย อายุระหว่าง 7 - 13 ปี เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน 1) การประเมินความรู้ในทักษะการเอาตัวรอดในน้ำของผู้เข้าอบรม โดยทีมวิทยากร ซึ่งเป็นการสังเกตจากภาคปฏิบัติ การลอยตัวในน้ำ และการเคลื่อนตัวไปในน้ำในท่าต่างๆ ผู้เข้าอบรมปฏิบัติได้ 48 คน ซึ่งประเมินได้ว่าผู้เข้าอบรมมีความรู้ในทักษะการเอาตัวรอดในน้ำได้ร้อยละ 96
|
70 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อฝึกอบรมการเอาตัวรอดในน้ำให้แก่เด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้การเอาตัวรอดในน้ำได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ประเมินโดยการทดสอบจากภาคปฏิบัติ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อฝึกทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR.) ให้แก่เด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กและเยาวชนมีทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR.) ได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ประเมินโดยการทดสอบจากภาคปฏิบัติ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายของเด็กและเยาวชนในตำบลแป-ระ ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กและเยาวชนในตำบลแป-ระ มีทักษะการออกกำลังกายโดยการว่ายน้ำ ร้อยละ 100 ประเมินจากภาคปฏิบัติ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฝึกอบรมการเอาตัวรอดในน้ำให้แก่เด็กและเยาวชน (2) เพื่อฝึกทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR.) ให้แก่เด็กและเยาวชน (3) เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายของเด็กและเยาวชนในตำบลแป-ระ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน (2) ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำและการช่วยเหลือผู้ประสพเหตุทางน้ำ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมนึก อาดตันตรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......