กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ ขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย มีวินัยจราจร ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด ”



หัวหน้าโครงการ
นางอัปสร สุติก

ชื่อโครงการ ขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย มีวินัยจราจร ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5313-03-004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มิถุนายน 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"ขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย มีวินัยจราจร ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย มีวินัยจราจร ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด



บทคัดย่อ

โครงการ " ขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย มีวินัยจราจร ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L5313-03-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มิถุนายน 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 87,067.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ปัจจุบันปัญหาการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตขณะขับขี่ยานพาหนะสองล้อ เช่น รถจักรยาน และจักรยานยนต์ การเสียชีวิตและบาดเจ็บสาหัสส่วนใหญ่มาจาก อาการบาดเจ็บที่ศีรษะ ซึ่งหมวกนิรภัยมีประสิทธิภาพในการลดความเสี่ยงที่จะบาดเจ็บที่ ศีรษะและ ลดอาการรุนแรงของอาการบาดเจ็บลงได้การส่งเสริมให้ผู้ขับขี่มีวินัยและสวมหมวกนิรภัย จึงเป็นวิธีการสำคัญ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล มีเขตพื้นที่บริการ คือม.3, ม.5, ม.9, ม.10,ม.11, ม.13, และ ม.16 เด็กในปีการศึกษา 2567 มีจำนวน 145 คน เป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ตั้ง ด้านหน้าติดถนนใหญ่สายหลัก (ถนนละงู - ฉลุง)ซึ่งมีรถวิ่งตลอดเวลา เส้นทางการมารับส่งเด็กส่วนใหญ่เป็นถนนซอยและเส้นทางถนนใหญ่สายหลัก จากการสังเกตอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากรถจักรยานยนต์ในศพด.บ้านคลองขุดพบว่าผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.56 % โดยไม่มีการสวมหมวกนิรภัยจากการรับ- ส่ง ด้วยรถจักรยานยนต์ของผู้ปกครองที่ไม่ได้สวมหมวกนิรภัยระหว่างเดินทาง ซึ่งมีอัตราการใช้หมวกนิรภัยจำนวนน้อยสะท้อนให้เห็นถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝันและเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่และผู้ปกครองหลาย ๆ คนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตร หลาน สวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์การรับส่งเด็กส่วนใหญ่ผู้ปกครองจะใช้รถจักรยานยนต์ส่วนตัวในการมารับส่งเด็ก และมีส่วนน้อยที่สวมใส่หมวกนิรภัยในการมารับส่งเด็กหรือในการเดินทางไปที่ต่างๆ ด้วยพฤติกรรมนี้ สะท้อนให้เห็นถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝัน และเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่และผู้ปกครองหลายๆ คนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตรหลานสวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ แล้วก็ยังมีอีกหลายครอบครัวที่แม้จะสวมหมวกนิรภัยให้เด็ก แต่ไม่รู้ว่าจะเลือกใช้หมวกนิรภัยที่มีคุณภาพ มีขนาดพอดีกับศีรษะเด็ก และจะสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธีได้อย่างไร และพฤติกรรมการขับขี่ที่ประมาท ขาดความระมัดระวัง ชะล่าใจ ขับขี่ด้วยความเร็ว การฝ่าสัญญาณไฟ การขับขี่ในช่องจราจรที่ไม่ถูกต้องการเปลี่ยนช่องทางจราจรโดยไม่เปิดสัญญาณไฟ เนื่องจากอาจเข้าใจว่าเป็นพื้นที่ที่การจราจรไม่หนาแน่น ดังนั้น เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นอาจส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บที่รุนแรงถึงแก่ชีวิต ในการเพิ่มความปลอดภัยบนท้องถนน และเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการลดการเสียชีวิตและการบาดเจ็บที่ศีรษะอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยมีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะหรือเสียชีวิตจากการบาดเจ็บประเภทนี้ นอกจากนี้ผู้ขับขี่ที่ไม่สวม หมวกนิรภัยยังเพิ่มภาระให้แก่โรงพยาบาลที่รับตัวเข้ารักษา เป็นภาระแก่บุคคล ครอบครัว (หรือผู้ดูแล) และสังคม หากต้องกลายเป็นคนพิการ ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด เล็งเห็นความสำคัญของอุบัติเหตุจากพฤติกรรมไม่สวมหมวกนิรภัย ที่อาจจะเกิดขึ้นกับเด็กและผู้ปกครอง ที่สร้างความสูญเสียในเรื่องต่างๆที่กล่าวมาแล้วนั้น จึงได้จัดทำโครงการขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย มีวินัยจราจร ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุดนี้ขึ้นเพื่อเป็นการสร้างความตระหนักในการขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย ปลูกฝังวินัยจราจรความปลอดภัยบนท้องถนนให้กับเด็กๆในศูนย์ฯ โดยเน้นให้เด็กๆ เป็นศูนย์กลาง ส่วนครูและผู้ปกครองจะทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลและให้ความรู้ที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เด็กๆ ได้เดินทางไป - กลับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้อย่างปลอดภัย และหวังจะลดจำนวนการบาดเจ็บและเสียชีวิตของทุกคนจากอุบัติเหตุทางถนน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุดมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย มีวินัยจราจร
  2. เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยง(ไม่สวมใส่หมวกกันน็อค)ของครู ผู้ปกครอง และเด็กขณะขับรถจักรยานยนต์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานจำนวน 3 ครั้ง
  2. สำรวจการสวมหมวกนิรภัยสำรวจยานยานพาหนะของผู้ปกครองสำรวจเส้นทางการเดินรถ
  3. การให้ความรู้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเรื่องวินัยจราจร
  4. คืนข้อมูล/อบรมให้ความรู้เรื่องอันตรายจากการไม่สวมหมวกนิรภัย/วางมาตรการร่วมเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัยด้วยการสวมหมวกนิรภัย
  5. ปรับภูมิทัศน์จุดเสี่ยงลดอุบัติเหตุเส้นทางการเดินรถของศพด.
  6. ถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินการโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 145
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ปกครองเด็กนักเรียน 145

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายสามารถป้องกันอุบัติเหตุใช้เส้นทางจราจร เกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย 2..ครู ผู้ปกครองและเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด ร้อยละ 100 ขับขี่ปลอดภัย และสวมหมวกนิรภัย 3.เกิดภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับหมู่บ้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุดมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย มีวินัยจราจร
ตัวชี้วัด : ครู ผู้ปกครองและเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด ร้อยละ80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย มีวินัยจราจร
0.00

 

2 เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยง(ไม่สวมใส่หมวกกันน็อค)ของครู ผู้ปกครอง และเด็กขณะขับรถจักรยานยนต์
ตัวชี้วัด : ครู ผู้ปกครองและเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด ร้อยละ100 สวมหมวกกันน็อค ขับขี่ปลอดภัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 290
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 145
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ปกครองเด็กนักเรียน 145

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุดมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย มีวินัยจราจร (2) เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยง(ไม่สวมใส่หมวกกันน็อค)ของครู ผู้ปกครอง และเด็กขณะขับรถจักรยานยนต์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานจำนวน 3 ครั้ง (2) สำรวจการสวมหมวกนิรภัยสำรวจยานยานพาหนะของผู้ปกครองสำรวจเส้นทางการเดินรถ (3) การให้ความรู้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเรื่องวินัยจราจร (4) คืนข้อมูล/อบรมให้ความรู้เรื่องอันตรายจากการไม่สวมหมวกนิรภัย/วางมาตรการร่วมเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัยด้วยการสวมหมวกนิรภัย (5) ปรับภูมิทัศน์จุดเสี่ยงลดอุบัติเหตุเส้นทางการเดินรถของศพด. (6) ถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินการโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย มีวินัยจราจร ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5313-03-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอัปสร สุติก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด