กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองวัณโรคโดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในชุมชน รพ.สต.บ้านในเมือง ปีงบประมาณ2567 ”




หัวหน้าโครงการ
นางธิดา สองเมือง




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองวัณโรคโดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในชุมชน รพ.สต.บ้านในเมือง ปีงบประมาณ2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5313-01-005 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 สิงหาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองวัณโรคโดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในชุมชน รพ.สต.บ้านในเมือง ปีงบประมาณ2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองวัณโรคโดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในชุมชน รพ.สต.บ้านในเมือง ปีงบประมาณ2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองวัณโรคโดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในชุมชน รพ.สต.บ้านในเมือง ปีงบประมาณ2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L5313-01-005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 สิงหาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรค (Tuberculosis:TB) เป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข เป็นสาเหตุของการป่วยและการเสียชีวิตในหลายๆประเทศทั่วโลก อีกทั้งปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ทำให้ปัญหาวัณโรคมีความ รุนแรงเพิ่มขึ้น วัณโรคจึงนับเป็นปัญหาที่ท้าทายต่อวงการสาธารณสุขของประเทศ ประเทศไทยมีปัจจัยหลายอย่างที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงาน และการขยายงานในการควบคุมวัณโรค ทั้งปัจจัยด้านผู้ป่วย สิ่งแวดล้อม สังคมและ เศรษฐกิจ เช่น ความยากจน การด้อยโอกาสทางการศึกษา ชุมชนแออัด ปัญหายาเสพติด แรงงานต่างชาติผิดกฎหมาย ความแออัดของผู้ต้องขังในเรือนจำ เป็นต้น ประเทศได้จัดทำแผนปฏิบัติการระดับชาติการต่อต้านวัณโรค พ.ศ.2560- 2564 มีมาตรการหลักในการบรรลุเป้าหมายสู่การยุติวัณโรคของประเทศ คือ 1) ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำได้รับการรักษาครอบคลุมร้อยละ 90 และ 2) อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรค ร้อยละ 90 โดยใช้ 5
ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 1) ค้นให้พบ 2) จบด้วยหาย 3) พัฒนาระบบและเครือข่าย 4)นโยบายมุ่งมั่น และ 5)สร้างสรรค์นวัตกรรม สถานการณ์วัณโรคในพื้นที่ ปี พ.ศ.2561-2565 มีผู้ป่วยวัณโรค จำนวน 8, 9, 10,10,10,11
ราย ตามลำดับ และปี พ.ศ.2566 มีผู้ป่วยวัณโรค จำนวน 12 ราย อัตราป่วย 2.92 ต่อประชากรพันคน (งานวัณโรค, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง) ผู้ป่วยวัณโรคมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นในทุกปี และมีประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อวัณโรคในทุกชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง ตำบลละงู จังหวัดสตูล พบผู้ป่วยที่ได้ขึ้นทะเบียนรักษา ปี๒๕๖๖ จำนวน ๑๒ ราย ซึ่งพบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่จากกิจกรรมคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงจำนวน ๑ ราย ซึ่งอยู่ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และ ๑๑ ราย อยู่ในกลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้านและผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วย จากสถานการณ์ดังกล่าวสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูลได้ออกมาตรการให้มีการคัดกรองวัณโรค อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ในประชาชน ๔ ประเภท ได้แก่ ผู้ร่วมสัมผัสผู้ป่วยร่วมบ้าน ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ แรงงานต่างด้าว และผู้ต้องขังในเรือนจำ ตามมาตรฐานการดำเนินงานวัณโรค จากสถานการณ์และความสำคัญของปัญหาดังกล่าว เพื่อให้เกิดการค้นหาผู้ป่วยในชุมชน และพัฒนาระบบบริการ การดำเนินอย่างมีส่วนร่วมของเครือข่าย ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามเป้าหมาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง ตำบลละงู จังหวัดสตูล จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและคัดกรองวัณโรคโดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในชุมชน ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ ขึ้น และมุ่งหวังให้เกิดกลไกในระดับชุมชน ในการเฝ้าระวังโรค สามารถแจ้งเจ้าหน้าที่และส่งต่อเพื่อทำการรักษาอย่างทันท่วงที ลดอัตราอุบัติการณ์ของโรค สู่ชุมชนสุขภาวะต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และความตระหนักในการเฝ้าระวังโรควัณโรค
  2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่
  3. เพื่อให้ชุมชนมีมาตรการในการแก้ไขปัญหาและการป้องกันแพร่เชื้อในชุมชน ในระดับพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเพื่อสร้างความตระหนักในการเฝ้าระวังโรควัณโรค
  2. อบรมเชิงปฎิบัติการฝึกทักษะการคัดกรองวัณโรคในชุมชนแก่แกนนำในชุมชน
  3. คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงโดยใช้แบบฟอร์มคัดกรองผู้มีอาการสงสัยวัณโรคปอด ( กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน ๓๐ คน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ๗๐ คน และผู้สูงอายุ/ที่สูบบุหรี่ ๓๐๐ คน) และให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๖ หมู่บ้าน
  4. ประชุมชี้แจงแนวทางการแก้ไขปัญหาวัณโรคในระดับพื้นที่แก่คณะกรรมการหมู่บ้านในการป้องกันโรค หมู่บ้านละ ๑๐ คน จำนวน ๖ หมู่บ้าน (อสม.๕๔ คน ผู้นำชุมชน๖คน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 300
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-แกนนำมีความรู้ความเข้าใจและแนวทางเกี่ยวกับการคัดกรองวัณโรค การเฝ้าระวัง -ประชาชนผู้สัมผัสใกล้ชิด/สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้สูงอายุ/สูบบุหรี่ ในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังวัณโรค สามารถค้นพบผู้ป่วยสงสัยในชุมชนได้ และสามารถส่งต่อเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการรักษาได้ทัน -ชุมชนมีมาตรการในการแก้ไขปัญหาและการป้องกันการแพร่เชื้อในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงโดยใช้แบบฟอร์มคัดกรองผู้มีอาการสงสัยวัณโรคปอด ( กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน ๓๐ คน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ๗๐ คน และผู้สูงอายุ/ที่สูบบุหรี่ ๓๐๐ คน) และให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๖ หมู่บ้าน

วันที่ 20 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงโดยใช้แบบฟอร์มคัดกรองผู้มีอาการสงสัยวัณโรคปอด ( กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน ๓๐ คน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ๗๐ คน และผู้สูงอายุ/ที่สูบบุหรี่ ๓๐๐ คน)  และให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๖ หมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ โดยการคัดกรองจากกลุ่มเป้าหมายในกลุ่มเสี่ยง
  • กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังวัณโรค สามารถค้นพบผู้ป่วยสงสัยในชุมชนได้ และสามารถส่งต่อเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการรักษาได้ทันโดยพลผู้ป่วยรายใหม่มากกว่าร้อยละ 1ของกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรอง และผลการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงโดยใช้แบบฟอร์มคัดกรองจำนวน 400 ราย พบผู้ป่วยสงสัยเข้าข่ายวัณโรคจำนวน 10 ราย โดยแยกผลการคัดกรองตามกลุ่มเสี่ยง ผลก่ีคัดกรองวัณโรคกลุ่มโรคเรื้อรังจำนวน 70 ราย พบผู้ป่วยสงสัยเข้าข่ายวัณโรคจำนวน 1 ราย ส่งต่อเอกเรย์ปอดจำนวน 40 ราย ผลเอกเรย์ปกติ และผลการคัดกรองกลุ่มผู้สูงอายุจำนวน 300 ราย ผลปกติทุกราย ผลการคัดกรองกลุ่มญาติผู้ป่วยสัมผัสร่วมบ้านจำนวน 30 ราย ส่งเอกเรย์ 12 ราย ผลปกติทุกราย

 

400 0

2. อบรมเชิงปฎิบัติการฝึกทักษะการคัดกรองวัณโรคในชุมชนแก่แกนนำในชุมชน

วันที่ 21 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฎิบัติการฝึกทักษะการคัดกรองวัณโรคในชุมชนแก่แกนนำในชุมชน   - ความรู้เรื่องวัณโรคและแนวทางการรักษา ป้องกัน   - แนวทางการดำเนินงานคัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรคใหม่ในกลุ่มเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เพื่อให้แกนนำอสม. ในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถคัดกรองค้นหาวัณโรคตามแนวทางการคัดกรอง
  • ผู้เข้ารับอบรมมีความรู้ ความเข้าใจและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการคัดกรอง การเฝ้าระวัง และมีทักษะการคัดกรองวัณโรคร้อยละ 80 และคัดกรองค้นหาวัณโรคในกลุ่มเปเาหมายร้อยละ 95

 

60 0

3. ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเพื่อสร้างความตระหนักในการเฝ้าระวังโรควัณโรค

วันที่ 26 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเพื่อสร้างความตระหนักในการเฝ้าระวังโรควัณโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรควัณโรค
  • ประชาชนได้รับความรู้จากสื่อประชาสัมพันธ์ร้อยละ 100

 

9,200 0

4. ประชุมชี้แจงแนวทางการแก้ไขปัญหาวัณโรคในระดับพื้นที่แก่คณะกรรมการหมู่บ้านในการป้องกันโรค หมู่บ้านละ ๑๐ คน จำนวน ๖ หมู่บ้าน (อสม.๕๔ คน ผู้นำชุมชน๖คน)

วันที่ 26 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • คืนข้อมูลสถานการณ์โรควัณโรค
  • วิเคราะห์ข้อมูล หาแนวทาง/มาตรการในการแก้ไขปัญหา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เพื่อให้ชุมชนมีมาตรการใรการแก้ไขปัญหาและการป้องกันการแพร่เชื้อในชุมชนในระดับพื้นที่
  • ชุมชนมีมาตรการในการแก้ไขปัญหาและการป้องกันการแพร่เชื้อในชุมชนร้อยละ 100 และมีแผนกิจกรรมการดำเนินงาน

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และความตระหนักในการเฝ้าระวังโรควัณโรค
ตัวชี้วัด : มีสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรควัณโรคในชุมชนร้อยละ100
0.00

 

2 เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองและมีความรู้ในการเฝ้าระวังวัณโรค ค้นพบผู้ป่วยรายใหม่มากกว่าร้อยละ ๑ ของกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรอง
0.00

 

3 เพื่อให้ชุมชนมีมาตรการในการแก้ไขปัญหาและการป้องกันแพร่เชื้อในชุมชน ในระดับพื้นที่
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีมาตรการในการแก้ไขปัญหาและการป้องกันการแพร่เชื้อในชุมชนร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ 300
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และความตระหนักในการเฝ้าระวังโรควัณโรค (2) เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ (3) เพื่อให้ชุมชนมีมาตรการในการแก้ไขปัญหาและการป้องกันแพร่เชื้อในชุมชน ในระดับพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเพื่อสร้างความตระหนักในการเฝ้าระวังโรควัณโรค (2) อบรมเชิงปฎิบัติการฝึกทักษะการคัดกรองวัณโรคในชุมชนแก่แกนนำในชุมชน (3) คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงโดยใช้แบบฟอร์มคัดกรองผู้มีอาการสงสัยวัณโรคปอด ( กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน ๓๐ คน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ๗๐ คน และผู้สูงอายุ/ที่สูบบุหรี่ ๓๐๐ คน)  และให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๖ หมู่บ้าน (4) ประชุมชี้แจงแนวทางการแก้ไขปัญหาวัณโรคในระดับพื้นที่แก่คณะกรรมการหมู่บ้านในการป้องกันโรค หมู่บ้านละ ๑๐ คน จำนวน ๖ หมู่บ้าน (อสม.๕๔ คน ผู้นำชุมชน๖คน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองวัณโรคโดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในชุมชน รพ.สต.บ้านในเมือง ปีงบประมาณ2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5313-01-005

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธิดา สองเมือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด